อารยธรรมโรมัน และกรีก

  • 2000 BCE

    โรงละครกรีก

    โรงละครกรีก
    โรงละครเอพิดอรัส ถือเป็นโรงละครแห่งแรกของโลกที่ออกแบบอย่างได้มาตรฐาน มีลักษณะเป็นอัฒจรรย์ครึ่งวงกลม มีเวทีแสดงอยู่ตรงใจกลางเพื่อดึงสายตาของผู้ชมมารวมกัน ในยุคกรีกคลาสสิก การแสดงละครเวทีที่โรงละครเอพิดอรัสเป็นไปเพื่อความบันเทิง ผู้ชมส่วนใหญ่เป็นปัญญาชนที่มาชมละครเพื่อศึกษาปรัชญาชีวิต ละครที่แสดงมีเนื้อหาไปในเชิงตลกขบขัน โศกนาฏกรรม รวมทั้งละครบูชาเทพเจ้า อันเป็นความเชื่อของชาวกรีกโบราณร่วมด้วย ซึ่งละครประเภทหลังนี้ส่วนใหญ่เป็นการแสดงที่คล้ายกับการประกอบพิธีกรรม
  • Period: 2000 BCE to 1881 BCE

    โรงละคร

    ในยุคกรีกคลาสสิก การแสดงละครเวทีที่โรงละครเอพิดอรัสเป็นไปเพื่อความบันเทิง ผู้ชมส่วนใหญ่เป็นปัญญาชนที่มาชมละครเพื่อศึกษาปรัชญาชีวิต ละครที่แสดงมีเนื้อหาไปในเชิงตลกขบขัน โศกนาฏกรรม รวมทั้งละครบูชาเทพเจ้า อันเป็นความเชื่อของชาวกรีกโบราณร่วมด้วย ซึ่งละครประเภทหลังนี้ส่วนใหญ่เป็นการแสดงที่คล้ายกับการประกอบพิธีกรร
  • 1900 BCE

    การรบมาราธอน

    การรบมาราธอน
    ชาวกรีกไม่สามารถเผชิญหน้ากับกองทหารม้า ของเปอร์เซีย ชาวกรีกได้ทราบว่ากองทหารม้าไม่อยู่ในค่ายของเปอร์เซียเป็นการชั่วคราว มิลเทียเดสจึงสั่งโจมตีทหาร ราบของเปอร์เซีย ในการสู้รบครั้งต่อมา มิลเทียเดสได้นำกองทหาร คนและชาวแพลตไปสู่ชัยชนะเหนือกองกำลังของเปอร์เซีย โดยเสริมกำลังที่ปีกของแนวรบ ซึ่งถูกล้อมโดยกองทหารกรีกที่หมุนเข้าด้านใน เมื่อเกือบถูกล้อม กองทหารเปอร์เซียก็รีบหนี รวมทั้งคาลิมาคัสด้วย การสู้รบครั้งนี้พิสูจน์ให้เห็นว่าหอกยาว ดาบและชุดเกราะ ของกรีก เหนือกว่าอาวุธของเปอร์เซีย
  • Period: 1900 BCE to 490 BCE

    การรบมาราธอน

    การรุกรานครั้งแรกของเปอร์เซียเป็นการตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของเอเธนส์ในกบฏไอโอเนียเมื่อเอเธนส์และเอเรเทรียส่งกองกำลังไปสนับสนุนเมืองต่างๆ ในไอโอเนียในความพยายามที่จะโค่นล้มการปกครองของเปอร์เซีย ชาวเอเธนส์และเอเรเทรียประสบความสำเร็จในการยึดและเผาเมืองซาร์ดิสแต่ต่อมาพวกเขาถูกบังคับให้ล่าถอยพร้อมกับความสูญเสียอย่างหนัก ในการตอบโต้การโจมตีครั้งนี้ ดาริอัสสาบานว่าจะเผาเอเธนส์และเอเรเทรีย ตามคำบอกเล่าของเฮโรโดตัส ดาริอัสให้ธนูของเขามาที่เขาแล้วยิงลูกศร
  • Period: 1882 BCE to 1924 BCE

    ระบบกษัตริย์ของกรีก

    มีการลงประชามติในปี 1920เพื่อฟื้นฟูคอนสแตนตินที่ 1 ให้ขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่สี่ปีต่อมาสาธารณรัฐเฮลเลนิกที่สองก็ก่อตั้งขึ้น และระบอบกษัตริย์ก็ถูกยกเลิกหลังจากการลงประชามติในปี 1924จากนั้นในปี 1935 ระบอบกษัตริย์ก็ได้รับการฟื้นฟูหลังจากการลงประชามติและยังคงดำรงอยู่หลังจากการ ลงประชามติใน ปี1946
  • 1823 BCE

    ระบบกษัตริย์ (Monarchy)

    ระบบกษัตริย์ (Monarchy)
    กรีกยุคแรกเป็นการปกครองแบบราชาธิปไตย หรือการปกครองโดยกษัตริย์ (Monarchy) เมืองต่าง ๆ มักจะมีผู้นำเป็นกษัตริย์ผู้มีอำนาจสูงสุด โดย
    ตัวอย่างที่โดดเด่นในยุคนี้คือกรุงไมซีนี้
    และทรอย ซึ่งทำหน้าที่เป็นประมุขและออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมสังคม ผู้มีอำนาจดังกล่าวนี้จะสืบทอดอำนาจของตนโดยทางสายเลือด
    คุ้มครองความปลอดภัยให้กับสมาชิก และทำให้สมาชิกแต่ละคนได้รับความเสมอภาคในการเข้าถึงทรัพยากร การมีผู้ปกครองที่มีอำนาจเพียงหนึ่งเดียวในสังคมมนุษย์ ส่งผลอย่างไรต่อสมาชิกสมาชิกแต่ละคนได้รับความเท่าเทียมกันหรือไม่
  • 1194 BCE

    โฮเมอร์ (Homer)

    โฮเมอร์ (Homer)
    โฮเมอร์ เป็นนักแต่งกลอนในตำนานชาวกรีก ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นผู้แต่งมหากาพย์เรื่อง อีเลียด และ โอดิสซีย์ ชาวกรีกโบราณเชื่อกันว่าโฮเมอร์เป็นนักประวัติศาสตร์ แต่นักวิชาการในปัจจุบันกลับมองโฮเมอร์ด้วยความรู้สึกสงสัย เพราะเป็นข้อมูลชีวประวัติที่สืบต่อกันมายาวนานมาก อีกทั้งตัวกาพย์เอง ก็ถูกเล่าแบบปากต่อปากมานานนับศตวรรษ และถูกแก้ไขใหม่จนกลายมาเป็นกวี มาติน เวสต์ เชื่อว่า "โฮเมอร์" ไม่ใช่นามของกวีในประวัติศาสตร์ แต่เป็นเพียงชื่อที่ถูกสร้างขึ้นมา
  • Period: 1194 BCE to 1184 BCE

    โฮเมอร์

    เพราะเป็นข้อมูลชีวประวัติที่สืบต่อกันมายาวนานมาก อีกทั้งตัวกาพย์เอง ก็ถูกเล่าแบบปากต่อปากมานานนับศตวรรษ และถูกแก้ไขใหม่จนกลายมาเป็นกวี มาติน เวสต์ เชื่อว่า "โฮเมอร์" ไม่ใช่นามของกวีในประวัติศาสตร์ แต่เป็นเพียงชื่อที่ถูกสร้างขึ้นมา
  • 1000 BCE

    โรงพยาบาลทหารโรมัน

    โรงพยาบาลทหารโรมัน
    การผ่าตัดในสนามรบของกองทัพโรมัน ชาวโรมันมีความสามารถทางด้านการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศัลยกรรมหรือการผ่าตัด สาธารณสุข มีการประดิษฐ์คีมและปากคีบเพื่อช่วยในการศัลยกรรมผ่าตัด สามารถผ่าตัดท่อน จึงเรียกการผ่าตัดแบบนี้ว่า “การผ่าแบบซีซ่าร์” โรงพยาบาลเพื่อบำบัดโรคจากการสงครามและจิตใจ มีความก้าวหน้าทางวิทยศาสตร์ การแพทย์ แบบใหม่ๆ ที่เน้นความผาสุกและความสบายแก่มนุษย์เป็นหลัก
  • Period: 1000 BCE to 1478 BCE

    โรงพยาบาลทหารโรมัน

    มีการตรวจสุขภาพทหารให้พร้อมเสมอ
    นอกจากจะได้รับการรักษาอย่างทันทีแล้ว โรมยังให้ความสำคัญกับสุขภาพของทหารทุกคนอีกด้วยเพราะการที่สุขภาพทหารทุกคนนั้นแข็งแรงก็จะยิ่งทำให้กองทัพมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยแพทย์ประกองทัพจะทำการตรวจร่างกายทหารทุกคนๆอยู่สม่ำเสมอเพื่อให้ร่างกายมีความพร้อมสำหรับออกรบ
  • 800 BCE

    ระบอบคณาธิปไตย

    ระบอบคณาธิปไตย
    คณาธิปไตย เป็นรูปแบบการปกครอง ที่มีกลุ่มคนหรือคณะใดคณะหนึ่ง มีอำนาจในการปกครองแบบเบ็ดเสร็จ การปกครองโดยคนส่วนน้อยส่วนใหญ่กลุ่มคณะที่มีอำนาจนี้ จะเป็นกลุ่มอภิสิทธิ์ชน ซึ่งเป็นขุนนาง ชนชั้นสูง รวมไปถึงเศรษฐี ซึ่งกลุ่มคณาธิปไตยเหล่านี้ ก็ล้วนกอบโกยหาผลประโยชน์ ให้กับพวกพ้องและคณะของตนเท่านั้น โดยไม่ใส่ใจกับประชาชนที่อยู่ภายใต้การปกครองของพวกเขาท้ายที่สุด ระบอบคณาธิปไตยก็ล่มสลายลง อันเนื่องมาจากการแย่งชิงอำนาจกันเองภายในกลุ่มอภิสิทธิ์ชน
  • 800 BCE

    อักษรกรีก

    อักษรกรีก
    ชุดตัวอักษรกรีก เป็นชุดของอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก ใช้เขียนคัมภีร์
  • Period: 800 BCE to 146 BCE

    ระบบคฌาธิปไตย

    ตลอดประวัติศาสตร์ คณาธิปไตยในบางประเทศได้เป็นทรราช ต้องอาศัยภาระจำยอมของสาธารณะจึงจะอยู่ได้ แม้คณาธิปไตยในประเทศอื่นจะค่อนข้างผ่อนปรน อริสโตเติลริเริ่มการใช้คำนี้เป็นคำไวพจน์ของการปกครองโดยคนรวย ซึ่งคำที่ถูกต้อง คือ เศรษฐยาธิปไตย (plutocracy) แต่คณาธิปไตยไม่จำเป็นต้องเป็นการปกครองด้วยความมั่งมีเสมอไป ด้วยผู้ปกครองในระบอบคณาธิปไตยเป็นกลุ่มมีเอกสิทธิได้ง่าย ๆ และไม่จำเป็นต้องเชื่อมโยงทางสายเลือดดังเช่นในราชาธิปไตย บางนครรัฐในสมัยกรีกโบราณปกครองแบบคณาธิปไตย
  • Period: 800 BCE to 357

    อักษรกรีก

    อักษรกรีกนั้นปรับปรุงแก้ไขจากอักษรฟินิเชีย และยังได้เป็นจุดกำเนิดพัฒนาการของอักษรอื่น ๆ อีกหลายแบบ เช่น อักษรละติน (อักษรโรมัน) อักษรกลาโกลิติก อักษรคอปติก และอักษรซีริลลิก เป็นต้น อาจรวมถึงอักษรอาร์มีเนียด้วย
    จากข้อเขียนของเฮโรโดตัสระบุว่าตัวอักษรเข้าสู่กรีซครั้งแรกโดยชาวฟินิเชียชื่อแคดมัส การเปลี่ยนแปลงของอักษรกรีกเมื่อเทียบกับอักษรฟินิเชีย
  • Period: 800 BCE to 480 BCE

    ประติมากรรมกรีก ยุคอาร์เคอิก

    การปฏิวัติเชิงโครงสร้าง นำไปสู่การสร้างแผนที่ และการกำหนดสถานะทางการเมืองระหว่างกันขึ้นในโลกของชาวกรีก เริ่มมีการก่อตั้งนครรัฐ "โปลิส" (poleis) ที่มีแบบแผนเฉพาะตัวขึ้นมา ในยุคนี้ชาวกรีกได้พัฒนาทฤษฎีการเมือง การเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การสงคราม และวัฒนธรรมขึ้นอย่างรวดเร็ว และสิ่งเหล่านี้ปูพื้นฐานไปสู่ยุคทอง หรือยุคคลาสสิคของอารยธรรมกรีก นอกจากนี้ชาวกรีกในยุคอาร์เคอิกยังได้ฟื้นฟูการเขียนที่หายไปในระหว่างยุคมืด โดยมีการพัฒนาตัวอักษรกรีกจนมีลักษณะอย่างที่ใช้กันมาจนปัจจุบัน
  • 776 BCE

    กีฬาโอลิมปิกโบราณ

    กีฬาโอลิมปิกโบราณ
    การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยโบราณนั้น แต่เดิมเป็นเทศกาลหรือการเฉลิมฉลองและบูชาเทพเจ้าซุส เป็นการแข่งขันกรีฑาระหว่างตัวแทนของนครรัฐและเป็นหนึ่งในการแข่งขัน ของกรีกโบราณ การแข่งขันถูกจัดเพื่อเป็นเกียรติแก่ซุสและชาวกรีกให้กำเนิดตำนานเทพปกรณัมกรีก ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ 776 ปีก่อนคริสตกาล ถูกจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปีหรือเรียกว่า องจากจักรพรรดิธีโอโดซิอุสซึ่งเป็นคริสเตียน ทรงมีบัญชาให้ยกเลิกการประกอบพิธีกรรมนอกรีตทั้งหมด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์เพื่อกำหนดให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำกรุงโรม
  • Period: 776 BCE to 393

    กีฬาโอลิมปิก

    สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โอลิมปิกไม่ได้รับความนิยมในยุคโรมัน เนื่องจากชาวโรมันมองว่า การเปลือยกายในที่สาธารณะของบรรดานักกีฬากรีกถือเป็นเรื่องน่าขายหน้า จึงไม่ให้การสนับสนุน แต่จักรพรรดิโรมันบางพระองค์มองเห็นประโยชน์ทางการเมืองของการแข่งขันกีฬาเช่นนี้ จึงทรงช่วยอุปถัมภ์บ้างเป็นครั้งคราว
    สุดท้ายการแข่งขันโอลิมปิกยุคโบราณก็ถึงจุดจบเมื่อราวปี ค.ศ. 393
  • 753 BCE

    ศิลปะโรมัน

    ศิลปะโรมัน
    ช่วงต้น (Early Roman Art) - ประมาณ 753 - 27 ปีก่อนคริสต์ศักราช:
    ศิลปะ Etruscan Influence: ศิลปะในช่วงนี้ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมเอทรัสกัน ซึ่งรวมถึงรูปปั้นและศิลปะตกแต่งที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมศาสนาและการฝังศพ.
    ภาพวาดผนัง (Frescos): การตกแต่งผนังด้วยภาพวาดที่มีลวดลายเป็นรูปทรงเรขาคณิตและฉากทางธรรมชาติ.
  • 753 BCE

    จูนิกา (Tunica)

    จูนิกา (Tunica)
    ปีค.ศ.: ใช้ทั่วไปตั้งแต่ราว 753 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนถึงยุคปลายโรมัน (หลัง ค.ศ. 476)
    จูนิกาคือชุดที่สวมใส่เป็นประจำวัน โดยทั้งชายและหญิงชาวโรมันจะสวมใส่ เป็นเสื้อผ้าทรงตรงทำจากขนสัตว์ ผ้าลินิน หรือผ้าฝ้าย มีความยาวตั้งแต่เข่าจนถึงข้อเท้า ขึ้นอยู่กับสถานะทางสังคม
    สำหรับผู้ชายชนชั้นสูง จูนิกาจะสวมใต้โทก้า ส่วนผู้หญิงจะสวมจูนิกายาวมักจะใช้ผ้าพันเป็นชั้น ๆ
  • 753 BCE

    รองเท้า (Calceus และ Solea)

    รองเท้า (Calceus และ Solea)
    ปีค.ศ.: ใช้ทั่วไปตั้งแต่ช่วงก่อตั้งโรม (753 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ถึงยุคปลายโรมัน
    Calceus: รองเท้าหุ้มส้นที่ทำจากหนัง ใช้สวมใส่ในชีวิตประจำวันของชนชั้นสูง
    Solea: รองเท้าชนิดรองเท้าแตะที่ใช้ในบ้านหรือในชีวิตประจำวัน สวมใส่ได้ทั้งชายและหญิง
  • Period: 753 BCE to 27

    ศิลปะโรมัน

    ประติมากรรมโรมันรับอิทธิพลมากจากชาวอีทรัสกันและกรีกยุคเฮเลนิสติก แสดงถึงลักษณะที่ถูกต้องทางกายภาพ เป็นแบบอุดมคติที่เรียบง่าย แต่ดูเข้มแข็งมาก ประติมากรรมอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมคือประติมากรรมรูปนูนเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ มีรายละเอียดของเรื่องราว เหตุการณ์ถูกต้อง ชัดเจน ประติมากรรมโรมันในยุคหลัง ๆ เริ่มเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนามากเป็นพิเศษ วัสดุที่ใช้สร้างประติมากรรมของโรมันมักสร้างขึ้นจาก ขี้ผึ้ง ดินเผา หิน และสำริด
  • Period: 753 BCE to 510 BCE

    ยุคราชอาณาจักรโรมัน

    นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งแยกช่วงการปกครองของจักรวรรดิโรมันเป็นสมัยผู้นำ ซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดิเอากุสตุสจนถึงวิกฤตการณ์คริสตและสมัยครอบงำซึ่งเริ่มตั้งแต่จักรพรรดิไดโอคลีเชียนจนถึงการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ซึ่งในสมัยผู้นำ ในจักรพรรดิจะมีอำนาจอยู่เบื้องหลังการปกครองแบบสาธารณรัฐ แต่ในสมัยครอบงำ อำนาจของจักรพรรดิได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ ด้วยมงกุฎทองและพิธีกรรมที่หรูหรา และเมื่อเร็ว ๆ นี้ นักประวัติศาสตร์ได้พิสูจน์ว่ารูปแบบการปกครองนี้ได้ใช้ต่อจนถึงช่วงเวลาของจักรวรรดิไบแซนไทน์
  • 750 BCE

    โทก้า (Toga)

    โทก้า (Toga)
    โทก้าเป็นเครื่องแต่งกายที่มีลักษณะเป็นผ้าชิ้นยาวคลุมร่างกาย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพลเมืองชายชาวโรมัน โดยเฉพาะชนชั้นสูงหรือผู้มีสิทธิ์ทางการเมือง Toga virilis: สวมโดยชายชาวโรมันเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่
    Toga praetexta: สวมโดยข้าราชการและผู้พิพากษา โดยจะมีขอบสีม่วง
    โทก้าถือว่าเป็นชุดที่ต้องสวมใส่ในโอกาสทางการ และมีน้ำหนักมากและไม่สะดวกสบายสำหรับการสวมใส่ในชีวิตประจำวัน
  • 750 BCE

    ยุคราชอาณาจักรโรมัน

    ยุคราชอาณาจักรโรมัน
    เริ่มต้นจากการตั้งถิ่นฐานของชนชาวอิตาลิกในปี 753 ก่อนคริสตกาล บริเวณริมแม่น้ำไทเบอร์บนคามสมุทรอิตาลี ปกครองทั้งคาบสมุทรอิตาลีและยึดครองดินแดนขนาดใหญ่และผู้คนในทวีปยุโรปและรอบทะเลเมดิเตอเรเนียน ชาวอีทรัสกันเป็นพวกที่รับอารยธรรมกรีกมาผสมผสานกับอารยธรรมของตนและส่งต่อให้กับโรม
  • 700 BCE

    ประติมากรรมกรีก ยุคอาร์เคอิก

    ประติมากรรมกรีก ยุคอาร์เคอิก
    ประติมากรรมในยุคนี้มักเป็นรูปคนยืนตรง ท่วงท่าค่อนข้างแข็งทื่อ มีการยิ้มแบบ "Archaic Smile" เป็นลักษณะเด่นของรูปปั้นช่วงนี้ เช่น รูปปั้น "คูรอส" และ "โคริ ซึ่งเป็นรูปปั้นชายและหญิงยืนตรง เดิมได้รับอิทธิพลจากประติมากรรมของอียิปต์ ประติมากรรมกรีกสมัยแรกดูแทบจะคล้ายกับงานประติมากรรมอียิปต์แบบชนบท มา และการวางท่าหรือการเคลื่อนไหวก็ยังไม่ดูเป็นธรรมชาติ แต่ประติมากรรมสมัยอาร์เคอิคก็ค่อยพัฒนาขึ้นมาเป็นลักษณะที่เรียกว่า “ลักษณะคลาสสิก” ที่เริ่มจะแสดงให้เห็นความรู้ทางเทคนิคและความชำนาญที่เพิ่มมากขึ้น
  • 700 BCE

    จิตรกรรม (Greek Painting)

    จิตรกรรม (Greek Painting)
    จิตรกรรมของกรีกโบราณมีอยู่ในรูปแบบของภาพเขียนบนภาชนะดินเผา (Vase Painting) ที่นิยมวาดภาพฉากจากตำนานเทพเจ้าและชีวิตประจำวัน ภาชนะดินเผากรีกมีสองรูปแบบหลัก: Black-Figure Technique: ภาพวาดใช้สีดำในการระบายตัวละครลงบนพื้นสีแดง (ดินเผา) รูปแบบนี้นิยมในช่วงศตวรรษที่ 7-5 ก่อนคริสตกาล
    Red-Figure Technique: เป็นเทคนิคใหม่ที่พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยใช้พื้นหลังสีดำ และระบายตัวละครเป็นสีแดง (สีของดินเผา) ซึ่งให้รายละเอียดมากขึ้น
  • Period: 700 BCE to 300 BCE

    จิตรกรรม (Greek Painting)

    สถาปัตยกรรมกรีกนั้นมีความเรียบง่ายในทางเทคนิค แต่ได้สร้างสรรค์รูปแบบที่กลมกลืนกันด้วยรูปแบบรายละเอียดมากมายที่สถาปัตยกรรมโรมัน ส่วนใหญ่นำมาใช้ และยังคงใช้กันในอาคารสมัยใหม่บางแห่ง สถาปัตยกรรมกรีกใช้คำศัพท์เกี่ยวกับเครื่องประดับที่ใช้ร่วมกับเครื่องปั้นดินไปขยายขอบเขตไปไกลกว่าโลกกรีกที่ขยายตัวออกไปซึ่งสร้างขึ้นโดยอเล็กซานเดอร์มหาราชบริบททางสังคมของศิลปะกรีกรวมถึงการพัฒนาทางการเมืองที่รุนแรงและความเจริญรุ่งเรืองที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ความสำเร็จที่น่าประทับใจไม่แพ้กันของกรีกในด้านปรัชญาวรรณกรรม
  • Period: 700 BCE to 480 BCE

    ประติมากรรมกรีกยุคอาร์เคอิก

    การปฏิวัติเชิงโครงสร้าง นำไปสู่การสร้างแผนที่ และการกำหนดสถานะทางการเมืองระหว่างกันขึ้นในโลกของชาวกรีก เริ่มมีการก่อตั้งนครรัฐ "โปลิส" (poleis) ที่มีแบบแผนเฉพาะตัวขึ้นมา ในยุคนี้ชาวกรีกได้พัฒนาทฤษฎีการเมือง การเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การสงคราม และวัฒนธรรมขึ้นอย่างรวดเร็ว และสิ่งเหล่านี้ปูพื้นฐานไปสู่ยุคทอง หรือยุคคลาสสิคของอารยธรรมกรีก นอกจากนี้ชาวกรีกในยุคอาร์เคอิกยังได้ฟื้นฟูการเขียนที่หายไปในระหว่างยุคมืด โดยมีการพัฒนาตัวอักษรกรีกจนมีลักษณะอย่างที่ใช้กันมาจนปัจจุบัน
  • 650 BCE

    ระบอบทรราชย์

    ระบอบทรราชย์
    ระบอบทรราชย์ เป็นรูปแบบการปกครองแบบหนึ่งของอารยธรรมกรีกโบราณ โดยในช่วงเวลานั้น ทรราชย์จะหมายถึง บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ประชาชนให้การสนับสนุน ในการโค่นล้มอำนาจของคณาธิปไตย ก่อนที่บุคคลผู้นั้น จะกลายเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดแต่เพียงผู้เดียวดังนั้นคำว่า "ทรราชย์" ในยุคสมัยกรีกโบราณ จึงมีความหมายในเชิง "วีรบุรุษ" มากกว่าที่จะเป็น "ผู้ร้าย" นักปฏิรูปคนสำคัญของนครรัฐเอเธนส์ ซึ่งทั้งสองคนก็เป็นทรราชย์
  • Period: 650 BCE to

    ระบอบทรราชย์

    โดยผู้นำที่มีอำนาจเบ็ดเสร็จและมักใช้อำนาจอย่างกดขี่ประชาชน รูปแบบการปกครองนี้เกิดขึ้นในหลายยุคหลายสมัยในประวัติศาสตร์ โดยไม่สามารถระบุเป็นปีที่แน่นอนได้ว่าเริ่มและสิ้นสุดเมื่อใด เนื่องจากการทรราชย์สามารถเกิดขึ้นในหลายวัฒนธรรมและช่วงเวลาแตกต่างกันไป
    ในประวัติศาสตร์กรีกโบราณ ระบอบทรราชย์ในรัฐเมืองต่างๆ ซึ่งในช่วงแรกไม่ได้มีความหมายเชิงลบเสมอไป ผู้ปกครองเหล่านี้บางคนขึ้นสู่อำนาจด้วยการสนับสนุนจากประชาชน แต่เมื่อเวลาผ่านไป ผู้ปกครองหลายคนใช้อำนาจในทางที่กดขี่ จึงทำให้เกิดความหมายเชิงลบ
  • 624 BCE

    ธาเลสแห่งไมเลทัส (Thales of Miletus)

    ธาเลสแห่งไมเลทัส (Thales of Miletus)
    ทาแลสแห่งมีแลโตส เป็นนักปรัชญาของชาวกรีกโบราณ ได้รับการยกย่องจากอริสโตเติล เป็นนักปรัชญาคนแรกที่บันทึกความคิดไว้เป็นหลักฐาน และได้รับเกียรติให้เป็นบิดาของวิชาปรัชญาตะวันตก เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์กล่าวว่า "วิชาปรัชญาเริ่มต้นจากเธลิส"ทาแลสเป็นคนแรกที่คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต์โดยใช้เงา เขาได้ทำนายว่าจะเกิดสุริยคราสล่วงหน้าซึ่งได้เกิดขึ้นก่อน รู้จักพิสูจน์ทฤษฎีบททางเรขาคณิต เช่น เส้นผ่านศูนย์กลางจะแบ่งครึ่งวงกลม มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเท่ากัน และมุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
  • Period: 624 BCE to 339 BCE

    โสกราตีส

    บรรดานักปราชญ์ยังคงถกเถียงกันถึงเรื่อง “ปัญหาโสกราตีส” นั่นคือเราจะสามารถจำแนกแยกประวัติศาสตร์ของโสกราตีสที่ถูกพรรณาถึงโดยคนอื่นๆ และการตีความถึงตัวโสกราตีสที่มีความแตกต่างกันโดยบรรดาผู้ประพันธ์ที่อยู่ในยุคร่วมสมัยของเขาได้อย่างไร นักศึกษากฎหมายยังคงยืนยันว่า วิธีการซักถามของโสกราตีสที่เรียกว่า “วิธีของโสกราตีส” โสกราตีสมีความโดดเด่นในฐานะทหารกรีกที่รบในสงครามเพโลพอนนี้เซียนระหว่างเอเธนส์กับสปาร์ตา เขาได้รับความดีความชอบในเรื่องของการอดทนกับความยากลำบากทางร่างกาย และความความกล้าหาญ
  • Period: 624 BCE to 548 BCE

    ธาเลสแห่งไม เลทัส

    เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณในยุค ก่อนโสเครติก จาก เมืองมิเล ในทางคณิตศาสตร์ ทาลีสเป็นชื่อเดียวกับทฤษฎีบทของทาลีสและทฤษฎีบทสกัดกั้นอาจเรียกอีกอย่างว่าทฤษฎีบทของทาลีส กล่าวกันว่าทาลีสคำนวณความสูงของพีระมิดและระยะห่างของเรือจากชายฝั่ง ในทางวิทยาศาสตร์ ทาลีสเป็นนักดาราศาสตร์ที่ทำนายสภาพอากาศและสุริยุปราคาได้ การค้นพบตำแหน่งกลุ่มดาวหมีใหญ่ยังเชื่อกันว่าเป็นผลงานของทาลีส เช่นเดียวกับการกำหนดเวลาของครีษมายันและวิษุวัตเขายังเป็นวิศวกรที่รู้จักกันว่าเปลี่ยนเส้นทางแม่น้ำฮาล
  • 610 BCE

    อนักซิแมนเดอร์ (Anaximander)

    อนักซิแมนเดอร์ (Anaximander)
    อะแนกซิแมนเดอร์ เป็นนักปรัชญาชาวกรีกและเป็นศิษย์ของทาแลส มนุษย์วิวัฒนาการมาจากปลาในน้ำ เมื่อโลกยังเป็นของเหลว เมื่อโลกแห้งก็ขึ้นฝั่งแล้ววิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์ ปรัชญาของอานักซามานเดอร์ สิ่งที่จะเป็นปฐมธาตุของโลก ควรจะมีความเป็นกลาง คือในตัวมันเองยังไม่เป็นอะไร ยังไม่เป็นดิน น้ำ ลม ไฟ มันจะยังไม่ สังกัดกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปฐมธาตุจึงควรเป็นสารที่ไร้ รูป ที่ไม่มีรูปลักษณะเหมือนสิ่งของใดๆ ที่คนเรา รู้จัก มันเป็นสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่มันเป็นสิ่งที่เป็น นิรันดรและแผ่ซ่านไม่มีที่สิ้นสุด
  • Period: 610 BCE to 546 BCE

    อนักซิแมนเดอร์ (Anaximander

    เป็นนักปรัชญาชาวกรีกและเป็นศิษย์ของทาแลส เกิดเมื่อก่อนพุทธศักราช 68 ปี และเสียชีวิตในช่วงก่อนพุทธศักราชประมาณ 3-4 ปี ปรัชญาของเขาต่างจากเธลีสเพราะเห็นว่าปฐมธาตุไม่ใช่น้ำแต่เป็นอนันตภาวะ สสารทุกอย่างมาจากอนันตภาวะและเมื่อสลายตัวก็จะกลับไปสู่อนันตภาวะ โลกก็มาจากอนันตภาวะ มนุษย์วิวัฒนาการมาจากปลาในน้ำ เมื่อโลกยังเป็นของเหลว เมื่อโลกแห้งก็ขึ้นฝั่งแล้ววิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์
  • 600 BCE

    โรมัน โรม

    โรมัน โรม
    บรรดาผู้อพยพต่างรวมตัวกันตั้งนครรัฐแห่งโรมขึ้น ทำเลของนครรัฐตั้งอยู่ในที่ซึ่งเหมาะสม โรมในอนาคตทางเหนือของโรมติดต่อกัยดินแกนที่เรียกว่า อีทรูเรีย คือ ทัสคานีปัจจุบัน อีทรูเนียเป็นที่อยู่อาศัยของพวกที่มีอารยธรรมสูงเรียกว่า อีทรัสกัน
  • 600 BCE

    เสา Doric (ดอริก)

    เสา Doric (ดอริก)
    ลักษณะ: เสา Doric เป็นเสาที่เรียบง่ายและแข็งแรงที่สุดในบรรดาเสาโรมัน ส่วนบน (capital) ของเสามีลักษณะเรียบ ไม่มีการตกแต่งมากนัก ฐานของเสาไม่มีการตกแต่งเป็นพิเศษ ใช้ในการสร้างสิ่งก่อสร้างที่ให้ความรู้สึกหนักแน่นมั่นคง เช่น วิหาร Parthenon ของกรีก วิหารโรมันโบราณ (Roman temples) ที่มีการใช้เสา Doric ได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมกรีก
  • 600 BCE

    โสเครติส (Socrates)

    โสเครติส (Socrates)
    โสเครติสเน้นการตั้งคำถามและค้นหาความจริงผ่านวิธีการสนทนาเชิงวิภาษ แนวคิดของเขามุ่งเน้นไปที่ศีลธรรมและความดี โดยเน้นให้ผู้คนค้นหาความรู้จากภายในตัวเอง และมีแนวคิดว่า "ชีวิตที่ไม่ได้ทบทวน คือชีวิตที่ไม่ควรมีชีวิตอยู่"ไปพัวพันในสงครามน้ำลายกับเหล่านักปรัชญากลุ่ม แห่งเอเธนส์ที่หาเลี้ยงชีพโดยการสอนทักษะโวหาร ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในสนามการเมืองให้กับบรรดาเศรษฐีแห่งเอเธนส์ โสกราตีสได้ติเตียนเป็นกลุ่มคนที่มาทำเรื่องเล่นกับปรัชญา
  • 570 BCE

    ทฤษฎีพีทาโกรัส

    ทฤษฎีพีทาโกรัส
    เป็นนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ชาวกรีกโบราณ เป็นที่รู้จักในนามเจ้าของทฤษฎีบทพีทาโกรัส บิดาแห่งตัวเลข" พีทาโกรัสไม่เพียงแต่มีความสำคัญต่อคณิตศาสตร์ เขายังได้สร้างสรรค์ความคิดหลายอย่างให้กับปรัชญาและศาสนา ความเชื่อว่าตัวเลขเป็นธรรมชาติของทุกสิ่ง พวกเขาปฏิบัติพิธีกรรมล้างมลทินกฎการกินอาหาร และกฎอื่น ๆทำให้พวกเขาเป็นอิสระจากวงจรการเกิดใหม่ พวกพีทาโกเรียนปฏิบัติต่อทาสอย่างดีเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิญญาณ พวกพีทาโกเรียนยังเชื่ออีกว่าการชำระล้างวิญญาณที่สูงที่สุดคือปรัชญาหลายสิ่งที่พวกพีทาโกเรียนปฏิบัตินั้น
  • Period: 570 BCE to 495 BCE

    พีทาโกรัส

    พีทาโกเรียน" ผู้ที่เป็นนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ที่บุกเบิกเรขาคณิต พวกพีทาโกเรียนยังมีความเชื่อเรื่องการกลับชาติมาเกิดและความเชื่อว่าตัวเลขเป็นธรรมชาติที่แท้จริงของทุกสิ่ง พวกเขาปฏิบัติพิธีกรรมล้างมลทิน ปฏิบัติตามกฎการกินอาหาร และกฎอื่น ๆ ซึ่งพวกเขาเชื่อว่าการปฏิบัติเช่นนี้จะทำให้พวกเขาเป็นอิสระจากวงจรการเกิดใหม่ พวกพีทาโกเรียนปฏิบัติต่อทาสอย่างดี และสัตว์มีฐานะเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีวิญญาณ พวกพีทาโกเรียนยังเชื่ออีกว่าการชำระล้างวิญญาณที่สูงที่สุดคือ "ปรัชญา" หลายสิ่งที่พวกพีทาโก
  • 550 BCE

    เสาแบบไอออนิก

    เสาแบบไอออนิก
    เสาแบบไอออนิก เป็นลักษณะทางสถาปัตยกรรม หนึ่งในสามของเสาแบบคลาสสิก ซึ่งนำมาจากกรีกและโรมันโบราณ อีกสองแบบได้แก่ ดอริกและคอรินเทียน (นอกจากนี้ยังมีเสาอีกสองแบบที่สำคัญน้อยกว่า ได้แก่ ทัสกัน และอีกแบบหนึ่งซึ่งเป็นการเพิ่มเติมและผสมผสานรายละเอียดของแบบคอรินเทียนกับแบบอื่น ๆ มาก สถาปัตยกรรมแบบไอโอนิกมีเสาที่บางกว่าและมีฐานรองรับ ส่วนหัวเสามีลักษณะเป็นรูปเกลียวหรือคด (volutes) ตัวอย่างที่เด่นชัดคือ วิหารแห่งเทพีอาร์เทมิส (Temple of Artemis) ในเอเฟซัส
  • 520 BCE

    สถาปัตยกรรมคอรินเธียน

    สถาปัตยกรรมคอรินเธียน
    สถาปัตยกรรมแบบคอรินเธียนมีหัวเสาที่ประดับด้วยใบไม้สลักแบบละเอียด โดยเฉพาะลาย "ใบอะคันธัส" (Acanthus Leaves) รูปแบบนี้นิยมในยุคเฮลเลนิสติก ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ วิหารโอลิมเปียนซุส (Temple of Olympian Zeus) ในเอเธนส์
  • 515 BCE

    พาร์เมนิดีส (Parmenides)

    พาร์เมนิดีส (Parmenides)
    พาร์เมนิดีส (อังกฤษ: Parmenides) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกเกิดที่เมืองอีเลีย มีลักษณะใกล้เคียงกับปรัชญาของเซนอฟะนีส โดยแบ่งแยกความจริงเป็นสองแบบคือความจริงแท้เรียกภวันต์ เป็นสิ่งที่เป็นหนึ่งเดียว แบ่งแยกไม่ได้ ไม่เกิดไม่ดับ กับความจริงเทียมซึ่งเป็นมายาและความหลอกลวง ปาร์มีนิเดสเแลยว่า ภาวะ เป็นแก่นแท้ของโลก เหตุนั้นภาวะจึงเป็นปฐมธาตุของสรรพสิ่ง ภาวะไม่เคยเปลี่ยนแปลง ภาวะไม่มีการเกิด ภาวะไม่มีการดับ เพราะมันจะต้องมีอยู่ตลอดไป ดังนั้น ภาวะจึงคงเป็นอยู่นิจนิรันดร์ เหมือนกับพระเจ้าในทัศนะของเซโนฟาเนส
  • Period: 515 BCE to 500 BCE

    พาร์เมนิดีส (Parmenides)

    ผลงานชิ้นเดียวที่เป็นที่รู้จักของปาร์เมนิดีสเป็นบทกวีที่มีชื่อเดิมไม่ทราบแน่ชัดแต่มักเรียกกันมีเพียงเศษเสี้ยวของบทกวีนี้เท่านั้นที่หลงเหลืออยู่ ในบทกวีของเขา ปาร์เมนิดีสถือเป็นผู้ก่อตั้งออนโทโลยีและมีอิทธิพลต่อประวัติศาสตร์ของปรัชญาตะวันตกยังถือเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนปรัชญาเอเลอาติกซึ่งรวมถึงเซโนแห่งเอเลอาและเมลิสซัสแห่งซามอสด้วยความขัดแย้งของการเคลื่อนไหวของเซโนได้รับการพัฒนาเพื่อปกป้องมุมมองของปาร์เมนิดีส ในปรัชญาสมัยใหม่ งานของปาร์เมนิดีสยังคงมีความเกี่ยวข้องในการอภิปรายเกี่ยวกับปรัชญาของเวลา
  • 509 BCE

    ยุคสาธารณรัฐโรมัน

    ยุคสาธารณรัฐโรมัน
    ได้รับการพัฒนา โดยมีศูนย์กลางอยู่บนหลักการแบ่งแยกอำนาจและการตรวจสอบและถ่วงดุล ยกเว้นในสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงของประเทศ สาธารณรัฐโรมัน มีผู้นำคนสำคัญ คือ จูเลียส ซีซ่า ซึ่งมีความสามารถด้านการรบมากสามารถแผ่ขยายอณาเขต รบชนะ กรีก อียิปต์ ส่วนการต่อสู้แบบกลาดิเอเตอร์ นักสู้ติดอาวุธที่มีหน้าที่ต่อสู้ ได้รับนิยมมากที่สุดในช่วง 100 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศตวรรษที่ 2 จนเสื่อมความนิยมลงในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 5
  • 509 BCE

    ยุคสาธารณรัฐโรมัน

    ยุคสาธารณรัฐโรมัน
    โรมันเริ่มต้นจากการเป็นสาธารณรัฐ (Republic) หลังจากโค่นล้มราชวงศ์อีทรัสกัน โดยในระยะนี้ โรมันเริ่มขยายดินแดนอย่างรวดเร็ว ทั้งในอิตาลีและต่างประเทศ และก่อตั้งสถาบันการปกครองที่เน้นการมีส่วนร่วมของพลเมือง เช่น วุฒิสภา และมีการแบ่งอำนาจระหว่างชนชั้นต่างๆ
  • 509 BCE

    เหรียญเงินในโรมัน

    เหรียญเงินในโรมัน
    เหรียญทองแดงขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒ เซนติเมตร ด้านหน้าเป็นรูปจักรพรรดิซีซาร์ มาร์คุส พิอาโวนิอุส วิกโตรินุส เห็นพระพักตร์ด้านขวาของพระองค์ ทรงมงกุฎ และเสื้อเกราะ มีตัวอักษรภาษาละตินล้อมรอบอยู่ริมขอบเหรียญ เทพีแห่งสุขภาพและความสุขของยุคโรมัน ทรงสวมชุดแบบโรมันที่เรียกว่า ชุดสโทลา พบจากเมืองโบราณอู่ทอง มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนที่อยู่ไกลออกไปทางตะวันตก โดยเฉพาะกับจักรวรรดิโรมัน ศูนย์กลางสำคัญของโลกยุคโบราณ โดยตรงหรือผ่านพ่อค้าชาวต่างชาติอื่น
  • 505 BCE

    โศกนาฏกรรม

    โศกนาฏกรรม
    ละครเน้นเรื่องโศกนาฏกรรม ละครกรีกยุคนั้นเชิงศิลปวัฒนธรรม เป็นการเรียนรู้ทางสังคม วัฒนธรรม ทั้งเรื่องจริยธรรม การเมือง ของพลเมืองชาวกรีก เค้าโครงเรื่องของบทละครโศกนาฎกรรมกรีกมักมาจากเรื่องเทพปกรณัม (เรื่องเทพเจ้าต่างๆ) และมหากาพย์อีเลียตและโอดิซุส กวีจะนำเรื่องของตัวละครเอกคนใดคนหนึ่งหรือเรื่องบางตอนมาเล่าใหม่ รวมทั้งจินตนาการต่อเติมใหม่ด้วยความคิด ท่วงทำนองและสำนวนภาษาของเขาเอง ทำให้เป็นบทละครโศกนาฏกรรมที่มีเนื้อหาที่มีลักษณะเฉพาะ เร้าใจ มีความงดงาม ความน่าสะพรึงกลัว ความเศร้าสะเทือนใจ
  • Period: 505 BCE to 27 BCE

    เหรียญเงินในโรมัน

    ความก้าวหน้าที่สำคัญในการสร้างภาพเหรียญเกิดขึ้นเมื่อจูเลียส ซีซาร์ออกเหรียญที่มีภาพเหมือนของเขาเอง ในขณะที่นักค้าเงินคนก่อนๆ ได้ออกเหรียญที่มีภาพเหมือนของบรรพบุรุษของพวกเขา แต่การผลิตเหรียญของซีซาร์ถือเป็นครั้งที่สามในประวัติศาสตร์โรมันที่บุคคลยังมีชีวิตอยู่ได้รับการพรรณนา
  • Period: 505 BCE to 200 BCE

    โศกนาฏกรรม

    โศกนาฏกรรมจึงเป็นการเลียนแบบ ของการกระทำอันสูงส่งและสมบูรณ์แบบ ซึ่งผ่านความเมตตากรุณาและความกลัวก่อให้เกิดการชำระล้างจิตใจ"ในขณะที่mimēsisหมายถึงการเลียนแบบกิจการของมนุษย์การชำระล้างจิตใจหมายถึงการชำระล้างจิตใจของผู้พบเห็น อย่างไรก็ตาม "การชำระล้างจิตใจ
  • 500 BCE

    เสา Ionic (ไอโอนิก)

    เสา Ionic (ไอโอนิก)
    เสา Ionic มีความละเอียดอ่อนกว่าเสา Doric โดยเสานี้มีลักษณะเด่นตรงส่วนบนที่มีการตกแต่งเป็นวงม้วน (volutes) มีฐานเสาที่ประณีตกว่าเสา Doric
    ตัวอย่างในโรมัน: เสาแบบ Ionic มักใช้ในอาคารที่ต้องการความสง่างาม เช่น วิหาร Athena Nike ที่ได้รับการปรับใช้ในโรมันโบราณ
  • 500 BCE

    ระบอบประชาธิปไตย กรีก

    ระบอบประชาธิปไตย กรีก
    ประชาธิปไตยของกรีกในช่วงเวลานั้น ประชาชนทุกคนจะมีสิทธิ์ทางการเมือง มีส่วนร่วมในการปกครอง และมีอำนาจอธิปไตยสูงสุด (ยกเว้น สตรี เด็ก และคนจากนครรัฐอื่นที่ไม่ใช่เอเธนส์) ประชาชนทุกคน สามารถเข้าร่วมกับการปกครองได้โดยตรงทว่าจำนวนของประชาชนที่มากจนเกิดไป ทำให้ประชาธิปไตยโดยตรง ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นจึงนำไปสู่การพัฒนาเป็น "ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน" เพื่อใช้อำนาจในการปกครองแทน ซึ่งประชาธิปไตยในรูปแบบนี้ ถือได้ว่าเป็นต้นแบบสำคัญของระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบัน
  • Period: 500 BCE to 332 BCE

    ระบอบประชาธิปไตยกรีก

    ระบบการปกครองที่ถูกใช้งานโดยมนุษย์มาตลอดสองพันปี อย่างน้อยนี่อาจเป็นสิ่งที่พวกเราเคยได้ร่ำเรียนมาในชั้นเรียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประชาธิปไตย กำเนิดมาจากกรีกโบราณจริง เพราะปัจจุบันมีนักโบราณคดีและนักวิชาการมากมายกำลังหาต้นตอของระบบการปกครองนี้ตามสถานที่ต่างๆ ที่เก่าแก่กว่ากรีกโบราณ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นภารกิจที่ท้าทาย เหตุผลคือสภาพสังคมและวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ยากต่อการสืบหาต้นตอสำหรับผู้คนที่ไม่มีบันทึกข้อมูลแบบลายลักษณ์อักษร
  • 476 BCE

    การเลี้ยงสัตว์

    การเลี้ยงสัตว์
    โรมันเลี้ยงวัว แพะ แกะ และสุกรเพื่อผลิตเนื้อ นม ขนสัตว์ และหนังสัตว์ นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงม้าเพื่อใช้ในการเดินทางและสงคราม
    การเลี้ยงผึ้ง: น้ำผึ้งเป็นสารให้ความหวานที่สำคัญในยุคโรมัน เนื่องจากพวกเขาไม่มีน้ำตาล
  • 476 BCE

    ระบบการจัดการฟาร์ม

    Latifundia (ลาติฟันเดีย): เป็นฟาร์มขนาดใหญ่ที่ดินส่วนใหญ่เป็นของชนชั้นสูง ซึ่งมักใช้แรงงานทาสในการทำงานในไร่ ช่วยผลิตสินค้าจำนวนมากเพื่อส่งออกและสนับสนุนเศรษฐกิจโรมัน
    วิธีการเพาะปลูก: โรมันใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การทำระเบียงบนพื้นที่ลาดชันเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน และการหมุนเวียนพืชผลเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน
  • 476 BCE

    ระบบเลขโรมัน

    ระบบเลขโรมัน
    ตัวเลขโรมัน เป็นระบบตัวเลขที่ใช้ในโรมโบราณ และยังคงเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานทั่วยุโรปจนถึงสมัยกลางตอนปลาย ตัวเลขในระบบนี้แสดงเป็นการผสมตัวอักษรในอักษรละติน หลังการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ยังคงมีการใช้งานตัวเลขโรมันต่อไปเป็นเวลานาน ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยตัวเลขอาหรับ บริเวณที่มักพบเห็นตัวเลขโรมันคือหน้าปัดนาฬิกา เช่น บนนาฬิกาของบิกเบน (ออกแบบใน ค.ศ. 1852) เส้นชั่วโมงจาก 1 ถึง 12
  • 476 BCE

    พืชที่เพาะปลูก

    พืชที่เพาะปลูก
    ธัญพืช (Grain): โรมันปลูกข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ และข้าวโอ๊ต ธัญพืชเหล่านี้เป็นแหล่งอาหารหลักที่ใช้เลี้ยงประชากรและทหาร
    มะกอก (Olive): ปลูกเพื่อผลิตน้ำมันมะกอก ซึ่งใช้ในการทำอาหารและเพื่อประโยชน์อื่น ๆ เช่น การใช้ในเครื่องหอมและตะเกียง
    องุ่น (Grape): ใช้ผลิตไวน์ที่เป็นสินค้าสำคัญในโรมัน ไวน์ยังมีบทบาทสำคัญในพิธีกรรมทางศาสนาและการบริโภคในชีวิตประจำวัน
    พืชผักและผลไม้: รวมถึงถั่ว พืชผักต่าง ๆ และผลไม้เช่น แอปเปิ้ล ลูกฟิก (มะเดื่อ) และลูกพลัม
  • 476 BCE

    จักรวรรดิโรมัน

    จักรวรรดิโรมัน
    เริ่มจากการที่ ออกัสตุส (Augustus)
    เป็นจักรพรรดิองค์แรก โดยเปลี่ยนรูป
    แบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็น
    จักรวรรดิอย่างไม่เป็นทางการ ระบบการปกครองจะยังคงใช้สถาบันซีเนตอยู่
    บ้าง แต่จักรพรรดิจะมีอำนาจสูงสุด

    จักรวรรดิในส่วนตะวันตกเริ่มอ่อนแอและล่มสลายในปี ค.ศ. 476 เมื่อ
    จักรพรรดิองค์สุดท้ายคือ โรมุลุส ออกุส
    ตุลุส (Romulus Augustulus) ถูกถอด
    ออกจากอำนาจ ส่วนจักรวรรดิตะวันออก
    ยังคงดำรงอยู่จนถึง ค.ศ. 1453 ในชื่อ
    จักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine
    Empire)
  • Period: 476 BCE to 1453

    จักรวรรดิโรมัน

    เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน อิทธิพลของโรมันได้ส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านภาษา ศาสนา สถาปัตยกรรม ปรัชญา กฎหมายและระบบการเมืองมาจนถึงทุกวันนี้
    จักรวรรดิถูกแบ่งออกเป็นฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออกในสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียน และถือว่าจักรวรรดิโรมันล่มสลาย
  • 460 BCE

    ฮิปโปเครตีส (Hippocrates)

    ฮิปโปเครตีส (Hippocrates)
    ฮิปโปเครติส ได้รับการยกย่องว่าเป็น “ผู้ให้กำเนิดวิชาแพทย์” หรือ “บิดาแห่งการแพทย์”เนื่องจากเป็นแพทย์คนแรกที่ได้ศึกษา ค้นคว้า นำวิธีการรักษาโรคแบบใหม่มาเผยแพร่ และมาใช้กับคนไข้ที่มารับการรักษาจากเขา ทั้งเป็นคนแรกที่ได้ปฏิรูปวงการแพทย์ วิธีการรักษาผู้ป่วยของฮิปโปเครตำราที่ใช้ในการรักษาโรคสืบต่อกันมา ในการรักษาโรคนั้น ฮิปโปเครติสจะใช้ยาที่รักษาผู้ป่วยที่เป็นยาที่ไม่รุนแรงและใช้เฉพาะเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ประพฤติปฏิบัติต่อคนไข้ให้ถูกต้องตามหลักวิชาแพทย์อย่างเคร่งครัด “ปฏิญาณอันเป็นจริยธรรมของแพทย์”
  • 460 BCE

    หนังสือ Hippocratic Corpus

    หนังสือ Hippocratic Corpus
    เป็นแพทย์คนแรกที่ทำระเบียนบันทึกอาการและประวัติของคนไข้ วางกฎเกณฑ์วิธีการปฏิบัติของแพทย์ต่อคนไข้ ซึ่งยังคงถือปฏิบัติกันอยู่ถึงปัจจุบัน มีข้อมูลตกทอดมาถึงปัจจุบันน้อยมาก ต้นแบบของการแพทย์ในยุคโบราณ เป็นผู้ทำให้เกิดความ ก้าวหน้าอย่างมากใน มีการรวบรวมวิชาแพทย์ของคำสอนการแพทย์โบราณ และ สั่งสอนจริยธรรมแก่แพทย์โดยคำปฏิญาณของฮิปไปเครติส ด้วยการทดลองศึกษาโรคและร่างกายของสัตว์ เปรียบเทียบและนำมาประยุกต์ใช้กับมนุษย์ประกอบกับการกลายเป็นการไพทย์แบบกาเลน
  • Period: 460 BCE to 377 BCE

    ฮิปโปเครตีส (Hippocrates)

    ชาวกรีก ผู้ริเริ่มการแพทย์) ผู้ได้รับสมญาว่า เป็น "บิดาแห่งการแพทย์" เป็นคนแรกที่นำความรู้เกี่ยวกับโรคจิต เข้ามาสู่วงการแพทย์ ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ ๔ ก่อนคริสต์กาล เขากล่าวว่า "สมองเป็นที่ตั้งของจิตใจ" เขาไม่เชื่อว่า โรคจิตเกิดจากพระเจ้า หรือปีศาจ ในปัจจุบัน ผู้ป่วยโรคจิตส่วนมากได้รับการรักษาด้วยการใช้ยา ซึ่งมีมากมายหลายชนิด และส่วนมากมีประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการทางจิต นอกจากนี้ ยังมีวิธีการรักษาที่ทันสมัย ทำให้ผู้ป่วยหลายรายไม่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถอยู่ในชุมชนของเขาได้
  • Period: 460 BCE to

    ระบบเลข โรมัน

    ยังคงมีการใช้งานตัวเลขโรมันต่อไปเป็นเวลานาน ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยตัวเลขอาหรับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ 14 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป และตัวเลขโรมันยังคงมีอยู่ในบางผลิตภัณฑ์จนถึงปัจจุบัน
    บริเวณที่มักพบเห็นตัวเลขโรมันคือหน้าปัดนาฬิกา
  • Period: 460 BCE to 370 BCE

    หนังสือ Hippocratic Corpus

    ครอบคลุมหลายแง่มุมของการแพทย์ ตั้งแต่ทฤษฎีทางการแพทย์ของฮิปโปเครติส ไปจนถึงสิ่งที่เขาคิดขึ้นเพื่อเป็นวิธีการทางการแพทย์ ไปจนถึงการรักษาโรคต่างๆ ฮิปโปเครติสเป็นผู้เริ่มต้นการพัฒนาการแพทย์ของสังคมตะวันตก ผ่านการผสมผสานอย่างละเอียดอ่อนระหว่างศิลปะการรักษาและการสังเกตทางวิทยาศาสตร์ สิ่งที่ฮิปโปเครตีสแบ่งปันจากผลงานของเขาไม่ใช่แค่การระบุอาการของโรคและการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องเท่านั้น เขากำลังพาดพิงถึงรูปแบบศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ของเขา "ศิลปะแห่งการใช้ชีวิตที่แท้จริงและศิลปะแห่งการแพทย์
  • 450 BCE

    เสา Corinthian (โครินเธียน)

    เสา Corinthian (โครินเธียน)
    เสา Corinthian เป็นเสาที่ประดับประดามากที่สุด โดยส่วนบนของเสาจะมีการแกะสลักเป็นรูปใบอะคันธัส (acanthus leaves) ซึ่งทำให้เสานี้ดูมีความงดงามและหรูหรา
    ตัวอย่างในโรมัน: อาคารต่าง ๆ ของโรมัน เช่น Pantheon ก็ใช้เสาแบบ Corinthian ซึ่งเสานี้ได้รับความนิยมมากในยุคโรมันตอนปลาย
  • 449 BCE

    กฎหมายโรมัน

    กฎหมายโรมัน
    การประกาศใช้ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (Twelve Tables) ซึ่งถือเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของกรุง โรม กฎหมายนี้เป็นรากฐานของกฎหมายแพ่งและอาญาของอารยธรรมโรมัน และเป็นต้นแบบให้แก่กฎหมายสมัยใหม่ในยุโรป จารีตประเพณีบรรพชนผลของการต่อสู้ทางสังคมอันยาวนานระหว่างแพทริเซียนกับพลีเบียน หลังการขับทาร์ควิเนียส ซูเบอร์บัส พระมหากษัตริย์โรมพระองค์สุดท้าย แพทริเซียนเท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นฝ่ายปกครอง จึงเป็นเหตุที่พลีเบียนไม่พอใจ การสถาปนากฎหมายสิบสองโต๊ะ โดยสร้างสิทธิตามกระบวนการยุติธรรมพื้นฐานแก่พลเมืองโรมันทุกคน
  • Period: 449 BCE to 59 BCE

    กฎหมายโรมัน

    โรมันมีกฎหมายมาตั้งแต่สมัยสาธารณรัฐ ในระยะแรกกฎหมายไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์ การบังคับใช้ กฎหมายเป็นไปตามวินิจฉัยของผู้พิพากษาซึ่งเป็นกลุ่มชนชั้นสูง ดังนั้นพวกสามัญชนจึงเรียกร้องให้เขียนกฎหมายเป็นลายลักษณ์ ซึ่งต่อมาได้แกะสลักบนแผ่นไม้รวม 12 แผ่นเรียกว่า กฎหมายสิบสองโต๊ะ ความโดดเด่นของกฎหมายโรมันคือ ความทันสมัย เพราะมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับโครงสร้างการปกครองที่เปลี่ยนเป็นระบอบจักรวรรดิและ ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคกันภายใต้กฎหมาย ซึ่งรวมถึงกระบวนการยุติธรรมที่ยึดเป็นแบบอย่าง
  • 447 BCE

    ยุคคลาสสิก

    ยุคคลาสสิก
    ประติมากรรมในยุคคลาสสิกมีการพัฒนาในเรื่องสัดส่วนและการแสดงอารมณ์ที่สมจริงมากขึ้น ท่วงท่าของประติมากรรมมีความเป็นธรรมชาติและแสดงถึงความงดงามตามอุดมคติของร่างกายมนุษย์ เช่น รูปปั้นของนักรบที่แสดงท่าการเคลื่อนไหว เช่น "Discobolus" (นักขว้างจักร) โดยประติมากร ไมรอน (Myron)
  • 440 BCE

    ศาสนากรีก

    ศาสนากรีก
    ศาสนาที่นับถือปฏิบัติในกรีซโบราณประกอบด้วยชุดความเชื่อ พิธีกรรมและประมวลเรื่องปรัมปรา เป็นความเชื่อแบบพหุเทวนิยม ชาวกรีกโบราณส่วนใหญ่รู้จักเทพเจ้าแห่งโอลิมปัส การบูชาเทพโอลิมปัส โดยเทพเหล่านี้มักมีฉายาที่พรรณนาถึงคุณลักษณะ รวมถึงสะท้อนการรับเทพท้องถิ่นเข้ามาในวัฒนธรรมของตน ศาสนากรีกโบราณเชื่อในโลกหลังความตายที่เป็นที่อาศัยของวิญญาณ เชื่อว่าเมื่อเสียชีวิต วิญญาณของผู้เสียชีวิตจะถูกส่งไปยังยมโลก วิญญาณผู้ทำดี ปรัชญากรีกโบราณมีแนวคิดการกลับชาติมาเกิดที่เรียกว่า เมเตมไซโคซิส
  • Period: 440 BCE to 430 BCE

    ศาสนากรีก

    ศาสนากรีกโบราณไม่มีคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์หรือได้รับการถ่ายทอดจากพระเป็นเจ้า อย่างไรก็ตามวรรณกรรมกรีกโบราณที่เก่าแก่มาก ศาสนากรีกโบราณเชื่อในโลกหลังความตายที่เป็นที่อาศัยของวิญญาณ เนื่องจากชาวกรีกโบราณไม่มีคำว่า "ศาสนา" อย่างในความหมายสมัยใหม่ นอกจากนี้ไม่มีนักเขียนสมัยกรีกโบราณคนใดบรรยายการบูชาเทพหรือสิ่งเคารพว่าเป็นศาสนา
  • 427 BCE

    เพลโต (Plato)

    เพลโต (Plato)
    เพลโต เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพล เเป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์ เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก ในช่วงการเคลื่อนไหวงานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็น
  • Period: 427 BCE to 347 BCE

    เพล โต (Plato)

    ในงานเขียนของเพลโต เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับรูปแบบของการปกครองทั้งแบบเจ้าขุนมูลนาย และแบบประชาธิปไตย เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับผลของสิ่งแวดล้อมกับผลของพันธุกรรม ต่อสติปัญญาและอุปนิสัยของมนุษย์ ซึ่งการโต้เถียงนี้เกิดขึ้นมานานก่อนการโต้เถียงเรื่อง "ธรรมชาติหรือการเลี้ยงดู" ที่มีขึ้นในช่วงเวลาของฮอบบส์ และล็อก และยังมีผลต่อเนื่องมาถึงงานเขียนที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งเช่นหนังสือ The Mismeasure of Man
  • 400 BCE

    วิหารแอสเคลปิออน (Asclepion)

    วิหารแอสเคลปิออน (Asclepion)
    วิหารแอสเคลปิออน (Asclepion)
    วิหารแอสเคลปิออนเป็นสถานที่รักษาผู้ป่วยซึ่งเป็นส่วนผสมระหว่างการแพทย์และศาสนา ผู้ป่วยจะมาอธิษฐานขอการรักษาจากเทพแอสเคลปิออส (Asclepius) เทพแห่งการรักษา ที่วิหารเหล่านี้ผู้ป่วยจะนอนพักและเฝ้าดูความฝัน ซึ่งเชื่อว่าเทพเจ้าจะส่งสัญญาณวิธีการรักษา แม้ว่าจะดูเหมือนการรักษาด้วยความเชื่อ แต่วิหารแอสเคลปิออนยังมีการใช้การแพทย์ที่มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ โดยมีแพทย์ดูแลผู้ป่วยและให้คำแนะนำด้านการรักษา
  • 400 BCE

    โมเสก (Greek Mosaics)

    โมเสก (Greek Mosaics)
    งานโมเสก เป็นงานศิลปะที่นิยมทำกันมากในสมัยโบราณภายในที่อยู่อาศัย งานโมเสกที่เก่าที่สุดชิ้นที่วังมาซิโดเนียที่เมืองเอเจีย ที่พบเป็นงานตกแต่งพื้นคฤหาสน์แบบกรีก, และงานตกแต่งที่อยู่อาศัยที่หรูหราของชาวโรมันตั้งแต่อังกฤษไปจนทั่วยุโรปและแอฟริกา ในกรุงโรมเอง จักรพรรดิเนโรทรงใช้โมเสกในการตกแต่งผนังและเพดานของ “Domus Aurea” ชาวกรีกยังสร้างผลงานศิลปะด้วยเทคนิคโมเสก (Mosaic) โดยใช้หินหรือแก้วเล็ก ๆ มาปะติดปะต่อกันเป็นภาพที่สวยงาม โมเสกของกรีกส่วนใหญ่เป็นภาพจากตำนานเทพเจ้าและฉากชีวิตประจำวัน
  • Period: 400 BCE to

    วิหารแอสเคลปิออน (Asclepion)

    เทพครึ่งคนครึ่งเทพคนแรกในตำนานเทพเจ้ากรีก[ 1 ]แอสเคลเปียสได้รับการกล่าวขานว่าเป็นแพทย์ที่มีทักษะมากจนสามารถปลุกคนจากความตายได้ ตำนานเกี่ยวกับพลังการรักษาอันยิ่งใหญ่ของเขา ผู้แสวงบุญจึงแห่กันไปยังวิหารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เขาเพื่อแสวงหาการรักษาทางจิตวิญญาณและทางกาย ในเมืองทริกกา (ปัจจุบันคือเมืองทริคาลา)เมืองเทสซาลีประเทศกรีซนักปราชญ์ในตำนานโบราณมักถือว่าทริกกาเป็นสถานที่เกิดของแอสเคลเปียส
  • Period: 400 BCE to 60

    โมเสก (Greek Mosaics)

    เป็นงานศิลปะที่นิยมทำกันมากในสมัยโบราณภายในที่อยู่อาศัย งานโมเสกที่เก่าที่สุดชิ้น และงานตกแต่งที่อยู่อาศัยที่หรูหราของชาวโรมันตั้งแต่อังกฤษไปจนทั่วยุโรปและแอฟริกา ในกรุงโรมเอง จักรพรรดิเนโรทรงใช้โมเสกในการตกแต่งผนังและเพดานของ “Domus งานโมเสกที่คฤหาสน์โรมานาเดล
  • 312 BCE

    ถนนโรมัน

    ถนนโรมัน
    ถนนโรมันได้รับการออกแบบ ตัดถนนเป็นเส้นตรงผ่านไปตามพื้นที่ในชนบท ช่างสำรวจ โกรมาติชี ประกอบด้วยหินที่ทุบเป็นก้อน ๆ หรือกรวดกับซีเมนต์ที่ผสมจากหินปูน สุดท้ายเป็นผิวถนนที่ใช้กรวด หินแม่น้ำ ก้อนแร่เหล็กหรือหินภูเขาไฟที่แข็งตัวแล้วมาเรียงเข้าด้วยกันกันอย่างประณีต ผิวถนนจะทำให้โค้งโดยมีร่องให้น้ำระบายออกไปข้าง ๆ ถนนทุกสายมุ่งสู่กรุงโรม
  • 285 BCE

    การประดิษฐ์นาฬิกาน้ำ

    การประดิษฐ์นาฬิกาน้ำ
    โดยนาฬิกาน้ำอันแรกของโลกถูกสร้างขึ้นโดย
    วิศวกรชาวกรีกที่มีชื่อว่า ซีเทสซีบิอุส โดยจะมีรูปจำลองรูปคนยืนถือหอกชี้ไปที่เสาที่อยู่ด้านหน้า
    โดยที่ข้างใต้ตัวรูปจำลองมีแอ่งน้ำแคบลึกเล็กๆ ที่
    บรรจุน้ำอยู่ด้านล่าง และมีท่อรูปตัว U กลับหัวเล็กยาวเชื่อมต่อไปยังกังหันน้ำที่อยู่ด้านล่าง ซึ่งตัว กังหันน้ำนี้ก็จะเชื่อมต่อกับเฟืองชุดหนึ่งที่เชื่อมต่อ กับเฟืองฐานเสาด้านล่าง ต้องคำนวณปริมาณน้ำและน้ำหนักของรูปปั้นที่กดลงและจะทำให้น้ำไหลลงไปยังกังหันน้ำเป็นปริมาณที่พอดี และต้องไหลลงไปในปริมาณพอดีกับเวลาที่กำหนดด้วย
  • Period: 285 BCE to 270 BCE

    การประดิษฐ์นาฬิกาน้ำ

    ชาวกรีกได้พัฒนานาฬิกาน้ำอย่างมากโดยแก้ปัญหาการไหลที่ลดลง พวกเขาได้แนะนำคลีปไซดราแบบไหลเข้าหลายประเภท ซึ่งหนึ่งในนั้นรวมถึงระบบควบคุมป้อนกลับในยุคแรก Ctesibiusได้คิดค้นระบบบอกเวลาแบบทั่วไปสำหรับนาฬิกาในยุคหลัง ๆ เช่น หน้าปัดและเข็มชี้ วิศวกรชาวโรมันได้บรรยายถึงนาฬิกาปลุกในยุคแรก ๆ ที่ใช้เสียงก้องหรือแตรนาฬิกาน้ำที่ใช้กันทั่วไปคือคลีปไซดราแบบไหลออก ภาชนะดินเผาขนาดเล็กนี้มีรูที่ด้านข้างใกล้กับฐาน ในสมัยกรีกและโรมัน คลีปไซดราประเภทนี้ใช้ในศาลเพื่อจัดสรรเวลาให้กับผู้พูด
  • 280 BCE

    การสร้างโคโลสซัสแห่งโรดส์

    การสร้างโคโลสซัสแห่งโรดส์
    มหารูปแห่งโรดส์ เป็นเทวรูปขนาดใหญ่ของเทพฮีลิออส หรือ อพอลโล เป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก จัดอยู่ในยุคเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุค
    โบราณ ร่วมสมัยกับประภาคารฟาโรสแห่งอเล็ก
    ซานเดรีย สร้างมาจากสำริด เป็นเทวรูปของสุริยเทพอพอลโล ซึ่งเป็นหนึ่งในเทวสภาโอลิมปัส มหารูปนี้สร้างขึ้นโดย ชาเรสแห่งลินดอส ซึ่งเป็นประติมากรชาวกรีก
  • 219 BCE

    การเเพทย์

    การเเพทย์
    แพทย์กรีกชื่อ Galen ได้รับการปลูกฝังให้มีความสนใจในด้านภาษาและวรรณคดีของกรีก ซึ่งถือเป็นค่านิยมของสังคมชั้นสูง แพทย์กาเล็นจึงตัดสินใจจากบ้านเกิดที่เมืองเปอร์กามอนอันเป็นที่รักและผูกพัน ออกเดินทาง เพื่อหาโรงเรียนแพทย์ที่จะพัฒนาความรู้ทางการแพทย์ เพราะความรู้จากการเรียนแพทย์ที่บ้านเกิดของตนนั้นคงไม่พอ เขาควรได้รับการศึกษาจากสถาบันทางการแพทย์ที่มีเสียงของประเทศต่างๆ เพื่อเป็นแพทย์ที่เชี่ยวชาญจริงๆ
  • 200 BCE

    สะพานโรมัน (Roman Bridges)

    สะพานโรมัน (Roman Bridges)
    สะพานโรมันเป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ทางวิศวกรรม สะพานเหล่านี้สร้างด้วยหินและมีการใช้เทคโนโลยี arch หรือซุ้มโค้ง ซึ่งเพิ่มความแข็งแรงและเสถียรภาพ
  • 200 BCE

    รถม้าศึก

    รถม้าศึก
    เป็นสนามแข่งรถม้าของโรมันโบราณ เป็นสถานที่ที่น่าทึ่งในประวัติศาสตร์ และได้รับการต่อเติมและปรับปรุงใหม่หลายครั้งตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมา สนามกีฬาแห่งนี้น่าตื่นตาตื่นใจ มีทั้งการแข่งขันรถม้าศึก ขบวนแห่ทางศาสนา และแม้แต่การต่อสู้ทางเรือจำลอง เป็นสถานที่ที่ผู้คนจากทุกสาขาอาชีพมารวมตัวกันเพื่อเชียร์ทีมโปรด แสดงให้เห็นความหลงใหลและความบ้าดีเดือดในแบบโรมัน
  • 200 BCE

    เครื่องประดับ (Jewelry)

    เครื่องประดับ (Jewelry)
    ชาวโรมันใช้เครื่องประดับอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิง เครื่องประดับส่วนใหญ่ทำจากทองคำ เงิน และอัญมณีต่าง ๆ
    แหวน (Rings): สวมใส่โดยทั้งชายและหญิง เป็นสัญลักษณ์ของสถานะทางสังคมและใช้ในพิธีแต่งงาน
    กำไล (Bracelets): สวมใส่ที่ข้อมือหรือแขน นิยมทำจากทองคำหรือเงิน
    สร้อยคอ (Necklaces): ผู้หญิงชนชั้นสูงนิยมสวมใส่สร้อยคอที่ประดับด้วยอัญมณี
    ต่างหู (Earrings): นิยมในหมู่ผู้หญิง มีตั้งแต่แบบเรียบง่ายไปจนถึงแบบประดับอัญมณีหรูหรา
  • 200 BCE

    ยุคเฮลเลนิสติก

    ยุคเฮลเลนิสติก
    ยุคนี้ประติมากรรมกรีกมีความซับซ้อนและแสดงถึงอารมณ์ที่รุนแรงมากขึ้น การแสดงท่วงท่าที่หลากหลายและการสร้างสรรค์ประติมากรรมที่มีรายละเอียดที่ละเอียดลออ ที่แสดงถึงความทุกข์ทรมานของตัวละครในตำนาน ประติมากรรมเหมือนของชายและหญิงทุกวัยก็เริ่มสร้างกันขึ้นและประติมากรก็มีอิสระพอที่สร้างงานที่ไม่จำเป็นต้องมีลักษณะที่มีร่างกายหรือความงามที่พร้อมสรรพอย่างอุดมคติ ประติมากรรมชายกรีกส่วนใหญ่จะวางท่ายืนเอียงเพื่อต้องการที่จะแสดงสรีระที่มีความใกล้เคียงกับความงามของเทพเจ้า
  • 100 BCE

    เรือพาณิชย์และเรือรบ (Roman Ships)

    เรือพาณิชย์และเรือรบ (Roman Ships)
    ปีค.ศ.: ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช (ก่อน ค.ศ. 100)
    โรมันพัฒนาเทคโนโลยีการต่อเรือเพื่อใช้ในการเดินเรือทั้งในสงครามและการค้าขาย โดยมีทั้งเรือรบที่ใช้ในการปกป้องอาณาจักรและเรือพาณิชย์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้า
    ตัวอย่าง: Trireme เป็นเรือรบที่มีแถวพายสามแถว เริ่มใช้ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช
  • 80 BCE

    การสร้างโคลอสเซียม

    การสร้างโคลอสเซียม
    เป็นสนามกีฬากลางแจ้งขนาดใหญ่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงโรม เริ่มสร้างขึ้นในสมัยจักรพรรดิเวสเปเซียนแห่งจักรวรรดิโรมัน และสร้างเสร็จในสมัยของจักรพรรดิไททัส ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัฒจันทร์เป็นรูปวงกลมก่อด้วยอิฐและหินทรายวัด มีการออกแบบอย่างชาญฉลาดโดยสร้างให้สนามกีฬามีลักษณะเป็นรูปวงรี เพื่อให้ผู้ชมรู้สึกเข้าใกล้นักกีฬา และมีการออกแบบทางระบายน้ำเพื่อไม่ให้น้ำท่วมขังในสนามขณะเกิดฝนตก ถือเป็นต้นแบบของสนามกีฬาต่าง ๆ ในปัจจุบัน ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 10 ปี
  • 17

    เรือพาณิชย์

    เรือพาณิชย์
    เรือพาณิชย์ เป็นพาหนะทางน้ำที่บรรทุกสินค้า และเรือเดินสมุทร ซึ่งใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการทหารเรือพาณิชย์มีขนาดและรูปร่างมากมาย ตั้งแต่เรือดำน้ำเป่าลม แล่นไปตามแม่น้ำมิสซิสซิปปี ไปจนถึงเรือลากจูง ที่แล่นไปตามท่าเรือนิวยอร์ก กองเรือเหล่านี้จึงมีหลายกรณีที่แล่นเรือภายใต้ธงของประเทศที่เชี่ยวชาญในการจัดหากำลังคนและบริการในเงื่อนไขที่ดี ธงเพื่อความสะดวก เรือกรีกมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ทำให้ปัจจุบันเป็นกองเรือพาณิชย์ระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก แม้ว่าจะไม่ใช่กองเรือที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์
  • 45

    ปฏิทินจูเลียน

    ปฏิทินจูเลียน
    สมัยที่ จูเลียส ซีซาร์ ครองอำนาจในกรุงโรม ได้มีคำสั่งให้มีการปรับแก้ปฏิทินโรมันแบบเดิมให้เป็นแบบสุริยคติแบบอิยิปต์ ซึ่งว่ากันว่า คลีโอพัตรา เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการผลักดันแก้ไขปฏิทิน เพื่อเป็นการแสดงให้เห็นว่าชนชาติอียิปต์มีความเชี่ยวชาญทางด้านดาราศาสตร์ชั้นสูงในตอนนั้น แต่ที่สำคัญที่สุดคือ ปฏิทินจูเลียน คือต้นแบบของ ปฏิทินเกรกอเรียน ปฏิทินอังกฤษ หรือ ปฏิทินสากล ที่ผู้คนทั่วโลกใช้บอกเวลาขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 เดือนมกราคมของทุกปี ซึ่ง January
  • 100

    เครื่องแต่งศีรษะ (Hair Accessories)

    เครื่องแต่งศีรษะ (Hair Accessories)
    ชาวโรมันมีการประดับผมด้วยเข็มกลัด หวี หรือเครื่องประดับผมที่ทำจากทองหรือเงิน ผู้หญิงชนชั้นสูงมักมีทรงผมที่ซับซ้อนและประดับด้วยเครื่องประดับศีรษะอย่างประณีต
  • 125

    แพนธีธอน

    แพนธีธอน
    เป็นสิ่งก่อสร้างที่ตั้งอยู่ในกรุงโรม เดิมสร้างโดยมาร์คัส วิพซานิอัส อกริพพาสำหรับเป็นเทวสถาน สำหรับเทพต่างๆ ของโรมันโบราณ โรมันโบราณ จะอุทิศให้แก่เทพเท่าใดนั้นก็ยังคงเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันอยู่ คำว่า “แพนธีอัน” โดยทั่วไปในปัจจุบันหมายถึงอนุสาวรีย์ที่เป็นที่เก็บศพของคนสำคัญ แพนธีอัน ศาสนสถานของโรมันคาทอลิก ที่อุทิศให้ “พระแม่มารีและผู้พลีชีพเพื่อศาสนา” ตัวตึกเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีโดมขนาดใหญ่ที่เก่าที่สุดในกรุงโรม ความสูงของช่องตา
  • 129

    หมอกาเล็น

    หมอกาเล็น
    กาเล็น เป็นแพทย์ชาวโรมันเชื้อสายกรีกซึ่งเขามีอิทธิพล ได้รับการปลูกฝังให้มีความสนใจในด้านภาษาและวรรณคดีของกรีก ซึ่งถือเป็นค่านิยมของสังคมชั้นสูงในสมัยนั้น และบิดายังเป็นผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ เรขาคณิต ดาราศาสตร์ ธรรมชาติวิทยา และอธิบายการทำงานของร่างกายมนุษย์ เช่น การไหลเวียนของเลือดและการทำงานของระบบประสาท
  • 171

    ปรัชญาเสรีนิยม

    ปรัชญาเสรีนิยม
    เสรีนิยม (อังกฤษ: liberalism) เป็นปรัชญาการเมืองหรือมุมมองทางโลกซึ่งตั้งอยู่บนความคิดเสรีภาพและความเสมอภาค นักเสรีนิยมยอมรับมุมมองหลากหลายขึ้นอยู่กับความเข้าใจหลักการเหล่านั้น แต่โดยทั่วไปสนับสนุนความคิดอย่างเสรีภาพในการพูด เสรีภาพสื่อ เสรีภาพทางศาสนา ตลาดเสรี สิทธิพลเมือง รัฐบาลฆราวาส ความเสมอภาคทางเพศ และ การร่วมมือ ...
  • Period: 520 to 16 BCE

    สถาปัตยกรรม คอรินเธียน

    ชื่อคอรินเทียนมาจากเมืองกรีกโบราณ โครินธ์ ถึงแม้ว่าการออกแบบจะมีตัวอย่างจากเสาแบบโรมันตามการออกแบบเสาในวิหารแห่งเทพมาส์ ในฟอรัมกัสตัส ยังมีการใช้รูปแบบเสาในทางตอนใต้ของกอลในวิหารโรมันโบราณ Maison Carrée ในเมืองนีมส์ และที่วิหารโพเดียมในเมืองเวียนของฝรั่งเศส ตัวอย่างสำคัญอื่น ๆ คือเสาด้านล่างของมหาวิหารยูเปีย และซุ้มประตูที่โคนา (ทั้งในรัชสมัยของจักรพรรดิตรายานุส
  • เรือรบไทริม

    เรือรบไทริม
    เรือรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 (World war 2) ช่วงระหว่าง ค.ศ.1936-1945 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเป็นช่วงที่มหาอำนาจของโลกทำสงครามกัน ส่วนมากจะใช้เรือดำน้ำ เรือประจัญบาน เป็นหลักรวมถึงการใช้เรือบรรทุกเครื่องบินด้วย การโจมตีโดยใช้การเล็งอาจไม่แม่นยำ เท่าการใช้เรดาร์ ยุค
    นี้เรือหลาย ๆ ลำใช้เรดาร์จับศัตรู ช่วยในพิกัดการเล็ง การโจมตีทางอากาศเริ่มมีบทบาทกับเรือมาก ขึ้น เครื่องบินสามารถปล่อยตอร์ปิโดโจมตีเรือให้ล่มได้ เจ้าแห่งการเดินสมุทร ยังคงเป็นอังกฤษ ตาม ด้วยเยอรมัน และสหรัฐ