เหตุการณ์ในยุคประวัติศาสตร์

  • 30,000 BCE

    ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์

    ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
    ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ คืองานศิลปะที่ได้เริ่มทำก่อนที่มนุษย์จะรู้จักการบันทึกเรื่องราวที่เรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยนับตั้งแต่ยุคหินเก่าตอนปลาย ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 30,000–10,000 ปีมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 15,000–10,000 ปีมานั้น มนุษย์ได้เขียนภาพสี และขูดขีดบนผนังถ้ำและเพิงผา เป็นภาพสัตว์ การล่าสัตว์และภาพลวดลายเรขาคณิต โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงออกเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจำวันและแสดงความสามารถในการล่าสัตว์
  • 10,000 BCE

    การเกษตรกรรม (ประมาณ 10,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

    การเกษตรกรรมก่อนปี 10,000 ปีคริสต์ศักราช ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงสำคัญในวิถีชีวิตของมนุษย์ในช่วงที่เรียกว่า ยุคหินใหม่ การพัฒนาการเกษตรประมาณ10,000ปีก่อนคริสต์ศักราช มนุษย์เริ่มทดลองปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ทำให้สามารถอยู่ประจำที่ได้ มนุษย์เริ่มเลือกพืชที่ให้ผลผลิตดี เช่น ข้าวสาลี มนุษย์เริ่มเลี้ยงสัตว์ เช่น แกะและแพะ เพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารและเสื้อผ้าการเกษตรทำให้มนุษย์สามารถตั้งถิ่นฐานถาวรและสร้างหมู่บ้าน
    ความรู้และเทคนิคการเกษตรเริ่มแพร่กระจายไปยังพื้นที่อื่นเช่น ยุโรป เอเชียและอเมริกา
  • 3000 BCE

    ประวัติศาสตร์ ศิลปะอินเดีย

    ประวัติศาสตร์ ศิลปะอินเดีย
    จุดเริ่มต้นของศิลปะอินเดียนั้นย้อนกลับไปได้ถึงยุคก่อนประวัติศาสตร์ในราว3000ปีก่อนคริสต์กาลมาจนถึงปัจจุบันศิลปะอินเดียได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมและศาสนา เช่นฮินดู, พุทธ, ไชนะ, ซิกข์ และอิสลาม จึงมีการผสมผสานกันอย่างซับซ้อนของประเพณีและความเชื่อของศานาต่าง ๆ ปรากฏในศิลปะอินเดีย ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียมีความหลากหลายและซับซ้อน เริ่มจากยุคหุบเขาอินดัสจนถึงยุคสมัยใหม่ โดยมีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับศาสนา วรรณกรรม และวัฒนธรรมที่หลากหลาย ศิลปะอินเดียมีอิทธิพลต่ออารยธรรมอื่น ๆ และยังคงมีชีวิตชีวาในปัจจุบัน
  • 2600 BCE

    การเกิดอารยธรรมอินเดีย

    การเกิดอารยธรรมอินเดีย
    ยุคหุบเขาอินดัส (ประมาณ 2600-1900 ปีก่อนคริสต์ศักราชอารยธรรมอินเดียเริ่มต้นที่หุบเขาอินดัส ซึ่งมีเมืองสำคัญ เช่น โมเฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา ที่มีระบบการวางผังเมืองที่ก้าวหน้า ระบบน้ำประปาและการค้าขายที่เจริญรุ่งเรือง การเข้าสู่ยุคเวทประมาณ 1500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชนเผ่าอารยัน เข้ามายังอินเดีย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและการเมือง โดยมีการพัฒนาศาสนาและวรรณกรรมที่เรียกว่า "เวท"ในช่วงเวลาต่อมา อาณาจักรใหญ่ เช่น อาณาจักรมอริยะในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช
  • 2580 BCE

    การสร้างพีระมิดของอียิปต์

    การสร้างพีระมิดของอียิปต์
    การสร้างพีระมิดการก่อสร้างพีระมิดในกิซ่า แสดงถึงความก้าวหน้าในสถาปัตยกรรมและวิทยาศาสตร์ การสร้างพีระมิดใช้แรงงานจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ทำงานในช่วงฤดูน้ำท่วมของแม่น้ำไนล์ใช้หินปูนและหินแกรนิตจากแหล่งหินที่ตั้งอยู่ไกลออกไป การขนส่งวัสดุเหล่านี้ใช้เทคนิคที่ซับซ้อนเครื่องมือใช้เครื่องมือที่ทำจากหินและทองแดงรวมถึงการใช้ไม้ในการขนย้าย มรดกทางวัฒนธรรมพีระมิดแห่งกิซ่าเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกโบราณและยังคงเป็นที่สนใจในด้านวิทยาศาสตร์และการท่องเที่ยว
  • 2100 BCE

    การเกิดอารยธรรมจีน

    การเกิดอารยธรรมจีน
    อารยธรรมจีนมีประวัติยาวนานเกือบ 5,000 ปี เริ่มต้นจากการตั้งถิ่นฐานในลุ่มแม่น้ำฮวงโห ซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับการเกษตรกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนามาจากยุคต่างๆ อารยธรรมจีนยังมีความสำคัญในด้านการประดิษฐ์ เช่น กระดาษ, การพิมพ์, เข็มทิศ, และดินปืน ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในจีนและทั่วโลก ความต่อเนื่องและการปรับตัวของอารยธรรมนี้ทำให้จีนกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญของโลกตลอดประวัติศาสตร์
  • 1600 BCE

    การก่อตั้งอาณาจักรกรีก

    การก่อตั้งอาณาจักรกรีก
    การก่อตั้งอาณาจักรกรีกเริ่มต้นจากยุคไมซีเนียนในประมาณ 1600-1100 ปีก่อนคริสต์ศักราช และมีการพัฒนาเป็นเมืองรัฐในช่วงศตวรรษที่ 8-6 ก่อนคริสต์ศักราช โดยเอเธนส์เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อโลกตะวันตก
  • 1014 BCE

    สปาร์ตา

    สปาร์ตา
    ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าที่สำคัญของกรีกมีจุดเด่นที่เน้นการฝึกทหาร จนอาจจะกล่าวได้ว่าสปาร์ตาเป็นรัฐทางทหารที่เป็นที่เข้มแข็งที่สุดในประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณ จักรวรรดิเปอร์เซียและจักรวรรดิเอเธนเนียน และได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ปกป้องรัฐอื่นๆในกรีก พวกสปาร์ตาสามารถตั้งนครรัฐของตนและได้ด้วยการทำสงครามดั้งนั้นจึงให้ความสำคัญกับระบบทหารมากจนอาจจะกล่าวได้ว่าสปาร์ตาเป็นรัฐทางทหารที่เป็นที่เข้มแข็งที่สุดในประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณ โดยกองทัพสปาร์ตาสามารถมีชัยเหนือจักรวรรดิเปอร์เซียและจักรวรรดิเอเธนเนียน
  • 753 BCE

    การก่อตั้งอาณาจักรโรมัน

    การก่อตั้งอาณาจักรโรมัน
    โรมันโบราณอาณาจักรโรมันเริ่มต้นจากการก่อตั้งเมืองโรมในปี 753 ก่อนคริสต์ศักราช โดยตามตำนานเชื่อว่าก่อตั้งโดย โรมัลุส ซึ่งเป็นหนึ่งในฝาแฝดที่เกิดจากพระเจ้ามาร์สและนางเรอา ซิลเวีย ราชอาณาจักรโรมันระหว่างปี 753 ถึง 509 ก่อนคริสต์ศักราช การสิ้นสุดของระบอบกษัตริย์ในปี 509 ก่อนคริสต์ศักราช การปกครองระบบสาธารณรัฐช่วยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศผ่านการเลือกตั้งและการตั้งสภา
    การขยายอำนาจ: โรมขยายอาณาเขตออกไปทั่วทั้งอิตาลีและต่อมาขยายไปยังยุโรปเหนือ แอฟริกา และเอเชีย
  • 475 BCE

    การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก

    การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
    การขึ้นสู่อำนาจของโอโดเซอร์ โอโดเซอร์เป็นผู้นำของกลุ่มชนเผ่าฝรั่งเศสเป็นผู้บัญชาการทหารจักรวรรดิในช่วงปลายศตวรรษที่5การปฏิวัติในปี476ค.ศ.โอโดเซอร์ได้ยึดอำนาจจักรพรรดิรอมุลุส ออกุสตุลัสซึ่งเป็นจักรพรรดิคนสุดท้ายการโค่นล้มจักรพรรดิรอมุลุส ออกุสตุลัสเขาขึ้นสู่อำนาจในปี475 ค.ศ.และเป็นจักรพรรดิที่อายุน้อยและมีอำนาจน้อยโอโดเซอร์บังคับจักรพรรดิรอมุลุส ออกุสตุลัสสละราชสมบัติจักรวรรดิการประกาศการสิ้นสุดการเป็นกษัตริย์โอโดเซอร์ประกาศเป็นกษัตริย์ปกครองอิตาลีโดยไม่มีการตั้งจักรวรรดิโรมันตะวันตกใหม่อีก
  • 300

    การแพร่กระจายของศาสนาคริสต์

    การแพร่กระจายของศาสนาคริสต์
    การแพร่กระจายของศาสนาคริสต์เริ่มต้นจากการสอนของพระเยซูในศตวรรษที่ 1 และขยายตัวอย่างรวดเร็วในอาณาจักรโรมันผ่านกิจกรรมของสาวก เช่น เปาโล ผู้เดินทางเผยแพร่ข่าวสารในหลายเมืองสำคัญ ในช่วงศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับการยอมรับจากจักรพรรดิโรมัน และกลายเป็นศาสนาประจำชาติในอาณาจักรโรมัน ในปัจจุบัน ศาสนาคริสต์ยังคงแพร่กระจายต่อไปผ่านการสื่อสารสมัยใหม่ การศึกษาที่สูงขึ้น และการเคลื่อนไหวทางสังคมต่างๆ ที่มุ่งหวังในการเผยแพร่และสร้างความเข้าใจในหลักธรรมต่างๆ ของศาสนา
  • 334

    อเล็กซานเดอร์ มหาราชพิชิตเปอร์เซีย

    อเล็กซานเดอร์ มหาราชพิชิตเปอร์เซีย
    อเล็กซานเดอร์มหาราชเริ่มต้นการรณรงค์เพื่อพิชิตจักรวรรดิเพอร์เซียในปี334คริสต์ศักราช โดยการข้ามแม่น้ำเฮลเลสพอนต์เข้าสู่เอเชียไมเนอร์(ปัจจุบันคือตุรกี)การรบที่กรานิครัสและการรบที่อีซัสในปี 333คริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์ยังคงรุกคืบต่อไปโดยพิชิตเมือติร์และเมืองกาซ่าก่อนที่จะบุกไปถึงอียิปต์และก่อตั้งเมืองอเล็กซานเดรียการพิชิตจักรวรรดิเพอร์เซียถึงจุดสูงสุดในปี331คริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์ชนะการรบที่โกมัร์นำไปสู่การล่มสลายจักรวรรดิเพอร์เซียและการควบคุมพื้นที่ขนาดใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก
  • Period: 334 to 330

    อเล็กซานเดอร์มหาราชพิชิตเปอร์เซีย

    อเล็กซานเดอร์มหาราชเริ่มต้นการรณรงค์เพื่อพิชิตจักรวรรดิเพอร์เซียในปี 334 คริสต์ศักราช โดยการข้ามแม่น้ำเฮลเลสพอนต์เข้าสู่เอเชียไมเนอร์เขาได้รับชัยชนะในหลายศึกสำคัญและการรบที่อีซัสในปี 333 คริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์ยังคงรุกคืบต่อไปโดยพิชิตเมืองติร์ การพิชิตจักรวรรดิเพอร์เซียถึงจุดสูงสุดในปี 331 คริสต์ศักราช เมื่ออเล็กซานเดอร์ชนะการรบที่โกมัร์ซึ่งนำไปสู่การล่มสลายของจักรวรรดิเพอร์เซียและการควบคุมพื้นที่ขนาดใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก
  • Period: 476 to 475

    การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก

    ปัญหาภายในการทุจริต, การบริหารที่ไม่ดี, และวิกฤตทางการเงินการรุกรานจากภายนอกการโจมตีจากชนเผ่าบาร์บาเรียน เช่น วิซิกอธ, แวนดัลล์, และฮันส์ 410 CEวิซิกอธภายใต้การนำของอลาริคปล้นกรุงโรม
    455CEแวนดัลล์ปล้นกรุงโรมอีกครั้ง476CEจักรพรรดิรอมูลุส ออกัสตุลุสถูกบังคับให้สละตำแหน่งโดยโอเดอาเซอร์ การสิ้นสุดของจักรวรรดิสิ้นสุดจักรวรรดิโรมันตะวันตกการตั้งอาณาจักรยุคกลางเกิดขึ้นของรัฐและอาณาจักรยุคกลางในยุโรปตะวันตกการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกในปี476CEถือเป็นการสิ้นสุดยุคโบราณและเริ่มต้นของยุคกลางในยุโรป
  • 500

    การล่มสลายของจักรวรรดิ โรมันและการก่อตั้งอาณาจักรฟีโอดัล

    การล่มสลายของจักรวรรดิ โรมันและการก่อตั้งอาณาจักรฟีโอดัล
    การรุกรานจากภายนอก ชนเผ่าบาร์บารี ความไม่มั่นคงภายในการเมืองที่ไม่มั่นคง การทุจริต เศรษฐกิจตกต่ำการค้าเสื่อมถอย การล่มสลายอย่างเป็นทางการ: ค.ศ. 476 เมื่อโรมูลุส ออกุสตุส จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรพรรดิโรมันถูกโค่นล้มโดยโอโดอาเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันในฝั่งตะวันตก การล่มสลายอย่างเป็นทางการ: ค.ศ. 476 เมื่อโรมูลุส ออกุสตุส จักรพรรดิองค์สุดท้ายของจักรพรรดิโรมันถูกโค่นล้มโดยโอโดอาเซอร์ ซึ่งถือเป็นจุดสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันในฝั่งตะวันตก
  • Period: 500 to 1500

    การล่มสลายของจักรวรรดิ โรมันและการก่อตั้งอาณาจักรฟีโอดัล

    การล่มสลายของจักรพรรดิโรมันนำไปสู่วิกฤตทางการเมืองและสังคม ซึ่งเปิดโอกาสให้ระบบฟีโอดัลเกิดขึ้น ระบบนี้กลายเป็นโครงสร้างหลักของสังคมยุโรปในช่วงยุคกลาง โดยมีการจัดการที่ดินและความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นเป็นหัวใจสำคัญ
  • Period: 600 to 300

    การแพร่กระจายของศาสนาคริสต์

    การแพร่กระจายของศาสนาคริสต์เริ่มต้นจากการสอนของพระเยซูในศตวรรษที่ 1 และขยายตัวอย่างรวดเร็วในอาณาจักรโรมันผ่านกิจกรรมของสาวก เช่น เปาโล ผู้เดินทางเผยแพร่ข่าวสารในหลายเมืองสำคัญ ในช่วงศตวรรษที่ 4 ศาสนาคริสต์ได้รับการยอมรับจากจักรพรรดิโรมัน และกลายเป็นศาสนาประจำชาติในอาณาจักรโรมัน ในปัจจุบัน ศาสนาคริสต์ยังคงแพร่กระจายต่อไปผ่านการสื่อสารสมัยใหม่ การศึกษาที่สูงขึ้น และการเคลื่อนไหวทางสังคมต่างๆ ที่มุ่งหวังในการเผยแพร่และสร้างความเข้าใจในหลักธรรมต่างๆ ของศาสนา
  • Period: 753 to 476

    การก่อตั้งอาณาจักรโรมัน

    โรมันโบราณอาณาจักรโรมันเริ่มต้นจากการก่อตั้งเมืองโรมในปี 753 ก่อนคริสต์ศักราช โดยตามตำนานเชื่อว่าก่อตั้งโดย โรมัลุส ซึ่งเป็นหนึ่งในฝาแฝดที่เกิดจากพระเจ้ามาร์สและนางเรอา ซิลเวีย ราชอาณาจักรโรมันระหว่างปี 753 ถึง 509 ก่อนคริสต์ศักราช การสิ้นสุดของระบอบกษัตริย์ในปี 509 ก่อนคริสต์ศักราช การปกครองระบบสาธารณรัฐช่วยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารประเทศผ่านการเลือกตั้งและการตั้งสภา
    การขยายอำนาจ: โรมขยายอาณาเขตออกไปทั่วทั้งอิตาลีและต่อมาขยายไปยังยุโรปเหนือ แอฟริกา และเอเชีย
  • 776

    การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในกรีซ

    การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในกรีซ
    การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในกรีซเกิดขึ้นในปี 776 ก่อนคริสต์ศักราช (BCE) ซึ่งถือเป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกโบราณที่บันทึกไว้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่เมืองโอลิมเปีย และเป็นจุดเริ่มต้นของประเพณีโอลิมปิกที่มีความสำคัญในวัฒนธรรมกรีกโบราณ.
  • Period: 776 to 393

    การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในกรีซ

    การแข่งขันนี้จัดขึ้นทุกสี่ปี (โดยเรียกว่า "โอลิมปิก" หรือ "Olympiad") และเป็นส่วนสำคัญของประเพณีและวัฒนธรรมกรีกโบราณ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกโบราณถูกยกเลิกในปี 393 คริสต์ศักราชเมื่อจักรพรรดิโรมันธีโอดอซิอุสที่ 1 สั่งห้ามการจัดการแข่งขันเพื่อสนับสนุนศาสนาคริสต์การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกได้รับการฟื้นฟูในสมัยใหม่โดยการจัดแข่งขันครั้งแรกในปี 1896 คริสต์ศักราชที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกีฬาโอลิมปิกสมัยใหม่ที่ดำเนินต่อมาจนถึงปัจจุบัน.
  • 993

    สมัยละโว้

    สมัยละโว้
    อาณาจักรละโว้ บ้างเรียก ลวรัฐ หรือ ละโว้โยทิยา[1] เป็นอาณาจักรโบราณในมณฑลอำนาจแห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลายยุคทวารวดี มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี) หลังการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรละโว้ได้ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา ชื่อเรียกของอาณาจักรละโว้ในเอกสารจีนคือ หลอหู
  • Period: 1014 to 371

    สปาร์ตา

    ซึ่งเป็นหนึ่งในชนเผ่าที่สำคัญของกรีกมีจุดเด่นที่เน้นการฝึกทหาร จนอาจจะกล่าวได้ว่าสปาร์ตาเป็นรัฐทางทหารที่เป็นที่เข้มแข็งที่สุดในประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณ จักรวรรดิเปอร์เซียและจักรวรรดิเอเธนเนียน และได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ปกป้องรัฐอื่นๆในกรีก พวกสปาร์ตาสามารถตั้งนครรัฐของตนและได้ด้วยการทำสงครามดั้งนั้นจึงให้ความสำคัญกับระบบทหารมากจนอาจจะกล่าวได้ว่าสปาร์ตาเป็นรัฐทางทหารที่เป็นที่เข้มแข็งที่สุดในประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณ โดยกองทัพสปาร์ตาสามารถมีชัยเหนือจักรวรรดิเปอร์เซียและจักรวรรดิเอเธนเนียน
  • 1066

    การพิชิตอังกฤษโดยวิลเลียมแห่งนอร์มังดี

    การพิชิตอังกฤษโดยวิลเลียมแห่งนอร์มังดี
    การสิ้นพระชนม์ของเอ็ดเวิร์ดที่ผู้ศรัทธากษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ผู้ศรัทธาแห่งอังกฤษสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1066วิลเลียมดยุกแห่งนอร์มังดีอ้างสิทธิ์ในการครองบัลลังก์อังกฤษจากการที่เอ็ดเวิร์ดได้ให้สัญญาวิลเลียมได้มีการเตรียมเรือรบและทหารจากนอร์มังดี วันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1066 วิลเลียมได้ต่อสู้กับแฮร์ลด์ โกดวินสัน ผู้ท้าชิงที่เป็นกษัตริย์ชั่วคราวในสนามรบที่ฮาสต์งส์
    วิลเลียมชนะการรบ แฮร์ลด์ถูกฆ่าตายในสนามรบ วิลเลียมได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ.1066
  • Period: 1066 to 1066

    การพิชิตอังกฤษโดยวิลเลียมแห่งนอร์มังดี

    ปี ค.ศ. 1066: วิลเลียม ดยุคแห่งนอร์มังดีอ้างสิทธิ์ในการครองบัลลังก์อังกฤษหลังจากการสิ้นพระชนม์ของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ผู้ศรัทธา
    14 ตุลาคม ค.ศ. 1066: วิลเลียมชนะการรบที่ฮาสต์ิงส์ ซึ่งเป็นการต่อสู้หลักกับแฮร์ลด์ โกดวินสัน ผู้ครองบัลลังก์ชั่วคราว
    25 ธันวาคม ค.ศ. 1066: วิลเลียมได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษที่วัดเวสต์มินสเตอร์
    การพิชิตทำให้วิลเลียมและนอร์มังดีเข้ามาปกครองอังกฤษและเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองอย่างใหญ่หลวง
  • 1096

    สงครามครูเสด

    สงครามครูเสด
    สงครามครูเสดเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ที่มีผลกระทบในหลายด้าน โดยเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และศาสนา ทั้งยังส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างโลกคริสต์และอิสลามอย่างต่อเนื่องในประวัติศาสตร์ สงครามครูเสดเป็นชุดของการรบที่เกิดขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 11 ถึง 13 โดยหลักแล้วเป็นการต่อสู้ระหว่างชาวคริสต์จากยุโรปและมุสลิมในตะวันออกกลาง สาเหตุหลักคือการพยายามฟื้นฟูการเข้าถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในเยรูซาเล็มและการขยายอำนาจของคริสตจักรและอาณาจักรคริสต์
  • 1215

    การลงนามในเอกสารแม็กนา คาร์ตา

    การลงนามในเอกสารแม็กนา คาร์ตา
    ในช่วงปลายศตวรรษที่ 12 และต้นศตวรรษที่ 13 กษัตริย์จอห์ปกครองอังกฤษด้วยวิธีที่ไม่เป็นที่นิยมการทุจริตในศาลกษัตริย์จอห์นยังมีปัญหาสงครามกับฝรั่งเศสซึ่งนำไปสู่การสูญเสียอาณาเขตและสร้างความไม่พอใจให้แก่บรรดาบารอนในปีค.ศ.1215บรรดาบารอนที่ไม่พอใจได้ก่อตั้งพันธมิตรเพื่อกดดัน วันที่15มิถุนายนค.ศ.1215กษัตริย์จอห์นได้ลงนามในเอกสารที่รู้จักกันในชื่อแม็กนา คาร์ตาได้กลายเป็นรากฐานสำคัญในเรื่องของการจำกัดอำนาจของกษัตริย์เอกสารนี้มีอิทธิพลต่อการพัฒนากฎหมายและยังคงถือเป็นเอกสารที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์
  • Period: 1291 to 1096

    สงครามครูเสด

    สงครามครูเสดเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ที่มีผลกระทบในหลายด้าน โดยเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และศาสนา ทั้งยังส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างโลกคริสต์และอิสลามอย่างต่อเนื่องในประวัติศาสตร์ สงครามครูเสดเป็นชุดของการรบที่เกิดขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 11 ถึง 13 โดยหลักแล้วเป็นการต่อสู้ระหว่างชาวคริสต์จากยุโรปและมุสลิมในตะวันออกกลาง สาเหตุหลักคือการพยายามฟื้นฟูการเข้าถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในเยรูซาเล็มและการขยายอำนาจของคริสตจักรและอาณาจักรคริสต์
  • Period: 1297 to 1215

    การลงนามในเอกสารแม็กนา คาร์ตา

    ในช่วงปลายศตวรรษที่ 12 และต้นศตวรรษที่ 13 กษัตริย์จอห์ปกครองอังกฤษด้วยวิธีที่ไม่เป็นที่นิยมการทุจริตในศาลกษัตริย์จอห์นยังมีปัญหาสงครามกับฝรั่งเศสซึ่งนำไปสู่การสูญเสียอาณาเขตและสร้างความไม่พอใจให้แก่บรรดาบารอนในปีค.ศ.1215บรรดาบารอนที่ไม่พอใจได้ก่อตั้งพันธมิตรเพื่อกดดัน วันที่15มิถุนายนค.ศ.1215กษัตริย์จอห์นได้ลงนามในเอกสารที่รู้จักกันในชื่อแม็กนา คาร์ตาได้กลายเป็นรากฐานสำคัญในเรื่องของการจำกัดอำนาจของกษัตริย์เอกสารนี้มีอิทธิพลต่อการพัฒนากฎหมายและยังคงถือเป็นเอกสารที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์
  • 1440

    การประดิษฐ์ตัวพิมพ์

    การประดิษฐ์ตัวพิมพ์
    จอห์น กูเทนเบิร์ก: นักประดิษฐ์ชาวเยอรมันที่เกิดประมาณปี 1400 มีส่วนสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ก่อนการประดิษฐ์ตัวพิมพ์ การผลิตหนังสือทำได้โดยการเขียนด้วยมือ ซึ่งใช้เวลานานและมีค่าใช้จ่าย การแพร่กระจายความรู้: การประดิษฐ์ตัวพิมพ์ช่วยให้การเผยแพร่ความรู้เป็นไปอย่างรวดเร็วและเข้าถึงได้มากขึ้น การเติบโตของวรรณกรรม: หนังสือเริ่มมีราคาถูกลง ทำให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ บทบาทสำคัญในการส่งเสริมการศึกษาวรรณกรรมและการเผยแพร่ความรู้ในสังคม จนกลายเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาสื่อในยุคต่อมา
  • Period: 1455 to 1440

    การประดิษฐ์ตัวพิมพ์

    จอห์น กูเทนเบิร์ก: นักประดิษฐ์ชาวเยอรมันที่เกิดประมาณปี 1400 มีส่วนสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ ก่อนการประดิษฐ์ตัวพิมพ์ การผลิตหนังสือทำได้โดยการเขียนด้วยมือ ซึ่งใช้เวลานานและมีค่าใช้จ่าย การแพร่กระจายความรู้: การประดิษฐ์ตัวพิมพ์ช่วยให้การเผยแพร่ความรู้เป็นไปอย่างรวดเร็วและเข้าถึงได้มากขึ้น การเติบโตของวรรณกรรม: หนังสือเริ่มมีราคาถูกลง ทำให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ บทบาทสำคัญในการส่งเสริมการศึกษาวรรณกรรมและการเผยแพร่ความรู้ในสังคม จนกลายเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาสื่อในยุคต่อมา
  • 1492

    คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา

    คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา
    คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ออกเดินทางจากสเปนวันที่ 3 สิงหาคมค.ศ.1492ด้วยเรือสามลำซานตา มาเรีย, พินตา, และนินญาเขามาถึงหมู่เกาะบาฮามาสในวันที่12ตุลาคม ค.ศ. 1492 และตั้งชื่อเกาะที่เขามาถึงว่า "ซาน ซัลวาดอร์"เขาได้สำรวจพื้นที่ในคิวบาและฮิสปานิโอลาการเดินทางของเขาทำให้เกิดการติดต่อกับโลกใหม่ แต่โคลัมบัสเองไม่เคยรู้ว่าตนค้นพบทวีปอเมริกา เขากลับไปสเปนในปี 1493 และได้เริ่มการสำรวจเพิ่มเติม แต่ทวีปอเมริกายังคงไม่ได้รับการสำรวจอย่างครบจนกว่าจะมีการเดินทางของนักสำรวจคนอื่นในเวลาต่อมา
  • 1492

    การสำรวจโลกใหม่

    การสำรวจโลกใหม่
    การสำรวจโลกใหม่ของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสมีผลกระทบอย่างมากต่อประวัติศาสตร์โลก โดยเฉพาะในด้านการค้า การขยายอาณานิคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทั้งยุโรปและอเมริกา
  • Period: 1493 to 1492

    คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา

    คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์ฟิลิปปาและควีนอิซาเบลล่าของสเปน โดยการเดินทางเริ่มต้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 1492 ด้วยเรือสามลำ เขาเดินทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกและถึงหมู่เกาะในแคริบเบียนเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 1492ซึ่งเขาคิดว่าเขาได้ค้นพบทวีปเอเชียในภูมิภาคที่เขาเรียกว่า “อินเดียใหม่”โคลัมบัสได้กลับสเปนในเดือนมีนาคม 1493 โดยนำข่าวการค้นพบของเขากลับไป แต่ไม่เคยรู้เลยว่าตัวเขาได้ค้นพบทวีปอเมริกาที่ไม่รู้จักมาก่อน (ซึ่งในความเป็นจริงแล้วเป็นทวีปที่ยังไม่เคยถูกสำรวจโดยชาวยุโรปในเวลานั้น)
  • Period: 1502 to 1492

    การสำรวจโลกใหม่

    การสำรวจโลกใหม่ของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสมีผลกระทบอย่างมากต่อประวัติศาสตร์โลก โดยเฉพาะในด้านการค้า การขยายอาณานิคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทั้งยุโรปและอเมริกา
  • 1517

    มาร์ติน ลูเธอร์เผยแพร่ข้อเสนอ 95 ข้อ

    มาร์ติน ลูเธอร์เผยแพร่ข้อเสนอ 95 ข้อ
    มาร์ติน ลูเธอร์เผยแพร่ข้อเสนอ 95 ข้อเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 1517 ข้อเสนอเหล่านี้ถูกเขียนขึ้นเพื่อวิพากษ์วิจารณ์การขายใบปล่อยโทษ ซึ่งเป็นการให้สิทธิ์ในการลดโทษจากบาป โดยคิดว่าจะช่วยให้ผู้คนหลุดพ้นจากโทษในชีวิตหลังความตายได้อย่างรวดเร็วขึ้น ข้อเสนอ 95 ข้อของลูเธอร์แสดงความไม่พอใจต่อการปฏิบัติที่ถือว่าเป็นการค้าขายบาปและการใช้ศาสนาเพื่อหารายได้ ข้อเสนอ 95 ข้อถือเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิรูปศาสนาที่มีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อศาสนาคริสต์และประวัติศาสตร์ยุโรป
  • 1517

    การปฏิรูปศาสนาคริสต์

    การปฏิรูปศาสนาคริสต์
    การปฏิรูป (1517-1648) เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อนช่วงเวลานี้คริสตจักรนิกายโรมันคาธอลิกเกือบจะมีอำนาจควบคุมประชาชนและรัฐบาลของโลกคริสเตียนได้อย่างใกล้ชิด เป็นช่วงที่ผู้เรียนรู้หลายคนในสมัยนั้นเริ่มตั้งคำถามกับการปฏิบัติของคริสตจักรโดยเปรียบเทียบกับพระคัมภีร์จนเกิดปัญหาขึ้น เจตนาของการปฏิรูปคือเพื่อปฏิรูปคริสตจักรคาทอลิกและนำกลับสู่รากฐานในพระคัมภีร์ไบเบิล ผลสุดท้ายคือการแบ่งคริสตจักรออกเป็นสองฝ่ายคือฝ่ายคาทอลิกและฝ่ายโปรเตสแตนต์
  • Period: 1555 to 1517

    มาร์ติน ลูเธอร์เผยแพร่ข้อเสนอ 95 ข้อ

    การปฏิรูปศาสนาที่เริ่มต้นจากข้อเสนอ 95 ข้อของมาร์ติน ลูเธอร์เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1517 และต่อเนื่องจนถึงกลางศตวรรษที่ 17 อย่างไรก็ตาม การปฏิรูปศาสนาไม่ได้มีช่วงเวลาสิ้นสุดที่ชัดเจน แต่ในแง่ของเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้กระบวนการนี้เข้าสู่ช่วงใหม่ การลงนามในสนธิสัญญาอวกส์บูร์กในปี ค.ศ. 1555 ถือเป็นจุดสำคัญที่ยุติความขัดแย้งทางศาสนาในยุโรปตอนกลางและสร้างความสันติภาพในภูมิภาคนี้
  • Period: to 800

    การก่อตั้งอาณาจักรกรีก

    การก่อตั้งอาณาจักรกรีกเริ่มต้นจากยุคไมซีเนียนในประมาณ 1600-1100 ปีก่อนคริสต์ศักราช และมีการพัฒนาเป็นเมืองรัฐในช่วงศตวรรษที่ 8-6 ก่อนคริสต์ศักราช โดยเอเธนส์เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อโลกตะวันตก.
  • Period: to 1517

    การปฏิรูปศาสนาคริสต์

    การปฏิรูป (1517-1648) เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อนช่วงเวลานี้คริสตจักรนิกายโรมันคาธอลิกเกือบจะมีอำนาจควบคุมประชาชนและรัฐบาลของโลกคริสเตียนได้อย่างใกล้ชิด เป็นช่วงที่ผู้เรียนรู้หลายคนในสมัยนั้นเริ่มตั้งคำถามกับการปฏิบัติของคริสตจักรโดยเปรียบเทียบกับพระคัมภีร์จนเกิดปัญหาขึ้น เจตนาของการปฏิรูปคือเพื่อปฏิรูปคริสตจักรคาทอลิกและนำกลับสู่รากฐานในพระคัมภีร์ไบเบิล ผลสุดท้ายคือการแบ่งคริสตจักรออกเป็นสองฝ่ายคือฝ่ายคาทอลิกและฝ่ายโปรเตสแตนต์
  • การปฏิวัติอุตสาหกรรม

    การปฏิวัติอุตสาหกรรม
    การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นช่วงเวลาสำคัญในประวัติศาสตร์ที่เริ่มต้นในอังกฤษในช่วงกลางศตวรรษที่ 8และมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อเศรษฐกิจและวัฒนธรรม การใช้เทคโนโลยีใหม่ การค้นพบและใช้ถ่านหิน เครื่องทอผ้าของเจมส์ ฮาร์เกรฟฟ์ ทำให้การผลิตผ้ารวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น การเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่การอุตสาหกรรมหลายคนจากชนบทย้ายไปยังเมืองเพื่อทำงานในโรงงาน การทำงานในโรงงานมีความเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่เลวร้าย การปฏิวัติอุตสาหกรรมแพร่กระจายไปยังยุโรปและสหรัฐอเมริกา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในระดับโลก
  • สงครามเก้าทัพ

    สงครามเก้าทัพ
    สงครามเก้าทัพเป็นสงครามใหญ่ครั้งแรกภายหลัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ได้เพียง 3 ปี ในสงครามนี้ พม่าข้าศึกได้ยกกำลังพลประมาณ 144,000 คนมารุกราน เพื่อหวังพิชิตสยามให้จงได้ ถ้าหากสยามพ่ายศึกนี้ ก็ยากที่จะฟื้นตัวขึ้นมาได้อีก ดังนั้นสงครามครั้งนี้จึงมีความสำคัญมากต่ออนาคตของสยาม สงครามเก้าทัพเรียกตามจำนวนกองทัพที่พระเจ้าปะดุง กษัตริย์พม่า จัดแบ่งกำลังทหารออกเป็น 9 ทัพ เพื่อมาโจมตีไทย โดยมีเป้าหมายหลักคือ กรุงเทพฯ
  • การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา

    การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา
    การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมค.ศ.1776และเป็นเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้13อาณานิคมของอังกฤษในอเมริกาประกาศแยกตัวออกและก่อตั้งประเทศใหม่คือรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับการประกาศอิสรภาพความไม่พอใจต่อการปกครองอังกฤษอาณานิคมอเมริกันรู้สึกไม่พอใจต่อการปกครองในปี ค.ศ.1775สงครามปฏิวัติอเมริกาเริ่มต้นขึ้น และในเดือนพฤษภาคมค.ศ.1775ได้มีการประชุมคองเกรสครั้งที่สองที่ฟิลาเดลเฟีย การประกาศอิสรภาพได้รับการลงนามโดยตัวแทนของ13อาณานิคมวันที่4กรกฎาคมค.ศ.1776และการประกาศนี้ได้ถูกส่งไปยังอังกฤษ
  • Period: to

    การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา

    การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมค.ศ.1776และเป็นเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้13อาณานิคมของอังกฤษในอเมริกาประกาศแยกตัวออกและก่อตั้งประเทศใหม่คือรายละเอียดสำคัญเกี่ยวกับการประกาศอิสรภาพความไม่พอใจต่อการปกครองอังกฤษอาณานิคมอเมริกันรู้สึกไม่พอใจต่อการปกครองในปี ค.ศ.1775สงครามปฏิวัติอเมริกาเริ่มต้นขึ้น และในเดือนพฤษภาคมค.ศ.1775ได้มีการประชุมคองเกรสครั้งที่สองที่ฟิลาเดลเฟีย การประกาศอิสรภาพได้รับการลงนามโดยตัวแทนของ13อาณานิคมวันที่4กรกฎาคมค.ศ.1776และการประกาศนี้ได้ถูกส่งไปยังอังกฤษ
  • การเริ่มต้นของการปฏิวัติ ฝรั่งเศส

    การเริ่มต้นของการปฏิวัติ ฝรั่งเศส
    การปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1789 โดยมีเหตุการณ์สำคัญที่กระตุ้นการปฏิวัติ ได้แก่ การเรียกร้องให้มีการปฏิรูปภาษีและสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ รวมถึงความไม่พอใจต่อการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 หนึ่งในเหตุการณ์ที่สำคัญคือการประชุมสภาแห่งสามสถานะ ซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งสภาแห่งชาติและการประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองนอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์สำคัญอย่างการบุกปราสาทบาสตีย์ ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นการปฏิวัติ
  • Period: to

    การเริ่มต้นของการปฏิวัติ ฝรั่งเศส

    การปฏิวัติฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1789 โดยมีเหตุการณ์สำคัญที่กระตุ้นการปฏิวัติ ได้แก่ การเรียกร้องให้มีการปฏิรูปภาษีและสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ รวมถึงความไม่พอใจต่อการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 หนึ่งในเหตุการณ์ที่สำคัญคือการประชุมสภาแห่งสามสถานะซึ่งนำไปสู่การก่อตั้งสภาแห่งชาติละการประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองนอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์สำคัญอย่างการบุกปราสาทบาสตีย์ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นการปฏิวัต
  • Period: to

    การปฏิวัติอุตสาหกรรม

    การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในเศรษฐกิจและสังคม เริ่มต้นในอังกฤษประมาณปีค.ศ. 1760 จนถึงกลางศตวรรษที่ 19 มีการพัฒนาเทคโนโลยี: การประดิษฐ์เครื่องจักรและการใช้พลังงานใหม่ การเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรรมสู่การอุตสาหกรรม ผลกระทบทางสังคม:เกิดชนชั้นกลางใหม่ การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม:การสนับสนุนการศึกษาและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในความคิดและวิถีชีวิต การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อสังคมและเศรษฐกิจทั่วโลก โดยส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกจนถึงปัจจุบัน
  • สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

    สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
    การเริ่มต้นสงครามเกิดจากการลอบสังหารอาร์ชดยุกฟรันซ์ เฟอร์ดินานด์ของออสเตรีย-ฮังการีที่ซาราเยโว โดยการโจมตีของกลุ่มเซอร์เบีย และการประกาศสงครามระหว่างมหาอำนาจในยุโรป
    ผลกระทบ: การเปลี่ยนแปลงของแผนที่การเมืองยุโรป, การล่มสลายของจักรวรรดิใหญ่เช่น จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมัน, การนำไปสู่การก่อตั้งสันนิบาตชาติ แม้จะไม่ประสบความสำเร็จในการป้องกันสงครามครั้งถัดไป
  • Period: to

    สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

    เหตุการณ์สำคัญ: การเริ่มต้นสงครามเกิดจากการลอบสังหารอาร์ชดยุกฟรันซ์ เฟอร์ดินานด์ของออสเตรีย-ฮังการีที่ซาราเยโว โดยการโจมตีของกลุ่มเซอร์เบีย และการประกาศสงครามระหว่างมหาอำนาจในยุโรป
    ผลกระทบ: การเปลี่ยนแปลงของแผนที่การเมืองยุโรป, การล่มสลายของจักรวรรดิใหญ่เช่น จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมัน, การนำไปสู่การก่อตั้งสันนิบาตชาติแม้จะไม่ประสบความสำเร็จในการป้องกันสงครามครั้งถัดไป
  • Period: to 993

    สมัยละโว้

    อาณาจักรละโว้ บ้างเรียก ลวรัฐ หรือ ละโว้โยทิยา[1] เป็นอาณาจักรโบราณในมณฑลอำนาจแห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลายยุคทวารวดี มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี) หลังการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรละโว้ได้ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยา ชื่อเรียกของอาณาจักรละโว้ในเอกสารจีนคือ หลอหู
  • สงครามโลกครั้งที่สอง

    สงครามโลกครั้งที่สอง
    เหตุการณ์สำคัญ: การเริ่มต้นสงครามเกิดจากการรุกรานโปแลนด์โดยเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 และการขยายวงกว้างของสงครามไปทั่วโลก รวมถึงการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐฯ โดยญี่ปุ่นในปี 1941
    ผลกระทบ: การล่มสลายของหลายประเทศและระบอบเผด็จการ, การสร้างสหประชาชาติ (United Nations), การแบ่งโลกออกเป็นสองฝ่ายในสงครามเย็นระหว่างสหรัฐฯ และสหภาพโซเวียต, การพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ และการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในโครงสร้างการเมืองโลก
  • Period: to

    สงครามโลกครั้งที่สอง

    เหตุการณ์สำคัญ: การเริ่มต้นสงครามเกิดจากการรุกรานโปแลนด์โดยเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 และการขยายวงกว้างของสงครามไปทั่วโลก รวมถึงการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ของสหรัฐฯ โดยญี่ปุ่นในปี 1941
    ผลกระทบ: การล่มสลายของหลายประเทศและระบอบเผด็จการ, การสร้างสหประชาชาติ (United Nations), การแบ่งโลกออกเป็นสองฝ่ายในสงครามเย็นระหว่างสหรัฐฯ และสหภาพโซเวียต, การพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ และการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งในโครงสร้างการเมืองโลก
  • สงครามเย็น

    สงครามเย็น
    สหรัฐอเมริกาเป็นตัวแทนของประชาธิปไตย ขณะที่สหภาพโซเวียตส่งเสริมลัทธิคอมมิวนิสต์การแข่งขันทางอำนาจทั้งสองประเทศต้องการขยายอิทธิพลทั่วโลกมาร์แชล1947สหรัฐฯ ส่งความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อฟื้นฟูยุโรปตะวันตกสงครามเกาหลี1950-1953เกาหลีเหนือ สนับสนุนโดยจีนและโซเวียตปะทะกับเกาหลีใต้ สนับสนุนโดยสหรัฐ ส่งผลให้เกาหลีถูกแบ่งเป็นสองประเทศ วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา1962การค้นพบขีปนาวุธโซเวียตในคิวบานำไปสู่ความตึงเครียดที่สูงที่สุดระหว่างสองประเทศ สงครามเวียดนาม1955-1975สหรัฐฯ ส่งกำลังทหารเข้าไปสนับสนุนเวียดนาม
  • การก่อตั้งสภายุโรป

    การก่อตั้งสภายุโรป
    สภายุโรปเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนในยุโรป ก่อตั้งขึ้นในปี 1949 โดยมีเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือและความมั่นคงในภูมิภาคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.
  • การเคลื่อนไหวสิทธิพลเมือง

    การเคลื่อนไหวสิทธิพลเมือง
    การแบ่งแยกเชื้อชาติกฎหมายในภาคใต้ของสหรัฐอเมริกาทำให้เกิดการแบ่งแยกทางเชื้อชาติในสถานที่สาธารณะการเลือกปฏิบัติคนผิวดำถูกจำกัดสิทธิในการลงคะแนนเสียงและเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิจและการศึกษามาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ผู้นำที่ใช้กลยุทธ์การต่อต้านแบบไม่ใช้ความรุนแรงปฏิเสธที่จะยอมให้คนขาวนั่งบนรถบัสส่งผลให้เกิดกาประท้วงครั้งใหญ่การประท้วงในมอนต์โกเมอรี1955เริ่มต้นจากการที่โรซา พาร์กส์ถูกจับกุม วอชิงตัน1963มีผู้เข้าร่วมมากกว่า250,000คนการยกเลิกกฎหมายที่เลือกปฏิบัติการเคลื่อนไหวช่วยยุติการแบ่งแยกทางกฎหมาย
  • การเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต

    การเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต
    อินเทอร์เน็ตเป็นผลจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีและการสื่อสารที่เริ่มต้นในช่วงกลางศตวรรษที่20ระบบเครือข่ายแรกที่พัฒนาของสหรัฐฯและหน่วยงานรัฐบาลซึ่งเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน โปรโตคอลทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายต่างๆ การเข้าสู่ยุคสาธารณะ(1990s)(1991)ทิม เบอร์เนอร์ส-ลีทำให้การเข้าถึงข้อมูลผ่านเบราว์เซอร์เป็นไปได้จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นอย่างเร็วการเกิดขึ้นของเว็บไซต์เช่นFacebook(2004)เปลี่ยนวิธีการสื่อสารการเพิ่มขึ้นของสมาร์ทโฟนและการเชื่อมตทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตสะดวกยิ่งขึ้น
  • Period: to

    การเคลื่อนไหวสิทธิพลเมือง

    เหตุการณ์: การต่อสู้เพื่อสิทธิของคนผิวดำในสหรัฐอเมริกา นำโดยผู้นำอย่างมาร์ติน ลูเธอร์
    คิง จูเนียร์
    ผลกระทบ: นำไปสู่การออกกฎหมายที่ยกเลิกการแบ่งแยกทางเชื้อชาติ เช่น กฎหมายสิทธิ
    พลเมืองในปี 1964
  • Period: to

    สงครามเก้าทัพ

    สงครามเก้าทัพเป็นสงครามใหญ่ครั้งแรกภายหลัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ได้เพียง 3 ปี ในสงครามนี้ พม่าข้าศึกได้ยกกำลังพลประมาณ 144,000 คนมารุกราน เพื่อหวังพิชิตสยามให้จงได้ ถ้าหากสยามพ่ายศึกนี้ ก็ยากที่จะฟื้นตัวขึ้นมาได้อีก ดังนั้นสงครามครั้งนี้จึงมีความสำคัญมากต่ออนาคตของสยาม สงครามเก้าทัพเรียกตามจำนวนกองทัพที่พระเจ้าปะดุง กษัตริย์พม่า จัดแบ่งกำลังทหารออกเป็น 9 ทัพ เพื่อมาโจมตีไทย โดยมีเป้าหมายหลักคือ กรุงเทพฯ
  • การลงจอดบนดวงจันทร์โดยอพอลโล 11

    การลงจอดบนดวงจันทร์โดยอพอลโล 11
    การลงจอดบนดวงจันทร์โดยอพอลโล 11 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 1969 องค์การนาซ่า (NASA) ส่งนักบินอวกาศนีล อาร์มสตรองและบัซ อัลดรินลงบนพื้นผิวดวงจันทร์ ขณะที่ไมเคิล คอลลินส์รออยู่ในวงโคจรดวงจันทร์ นีล อาร์มสตรองกล่าวคำว่า "นี่คือก้าวเล็กๆ ของมนุษย์ แต่เป็นก้าวใหญ่ของมนุษยชาติ" ขณะลงจากยาน
  • Period: to

    การลงจอดบนดวงจันทร์โดยพอลโล 11

    การลงจอดบนดวงจันทร์โดยอพอลโล 11 เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 1969 องค์การนาซ่า (NASA) ส่งนักบินอวกาศนีล อาร์มสตรองและบัซ อัลดรินลงบนพื้นผิวดวงจันทร์ ขณะที่ไมเคิล คอลลินส์รออยู่ในวงโคจรดวงจันทร์ นีล อาร์มสตรองกล่าวคำว่า "นี่คือก้าวเล็กๆ ของมนุษย์ แต่เป็นก้าวใหญ่ของมนุษยชาติ" ขณะลงจากยาน
  • การสังหารหมู่ ที่ทุ่งสังหารในกัมพูชา

    การสังหารหมู่ ที่ทุ่งสังหารในกัมพูชา
    จุดเริ่มต้นจากการปกครองเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จในรัฐบาลของ นายพล ลอน นอล ซึ่งทำการรัฐประหารยึดอำนาจมาจากสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ ประชาชนชาวกัมพูชาจึงต้องหลบหนีไปเข้าร่วมกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ หรือเขมรแดง ที่นำโดย นายพล พต ที่ต่อมาสามารถโค่นล้มอำนาจของนายพล ลอน นอลได้ในที่สุด และได้เริ่มแผนสังหารหมู่ขึ้นที่โตสะแลง (Tuol Sleng) สถานที่จองจำและทรมานนักโทษชาวกัมพูชา ก่อนจะถูกพามายัง ทุ่งสังหารเพื่อฆ่าและฝังกลบในคราวเดียว
  • Period: to

    การสังหารหมู่ ที่ทุ่งสังหารในกัมพูชา

    จุดเริ่มต้นจากการปกครองเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จในรัฐบาลของ นายพล ลอน นอล ซึ่งทำการรัฐประหารยึดอำนาจมาจากสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ ประชาชนชาวกัมพูชาจึงต้องหลบหนีไปเข้าร่วมกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ หรือเขมรแดง ที่นำโดย นายพล พต ที่ต่อมาสามารถโค่นล้มอำนาจของนายพล ลอน นอลได้ในที่สุด และได้เริ่มแผนสังหารหมู่ขึ้นที่โตสะแลง (Tuol Sleng) สถานที่จองจำและทรมานนักโทษชาวกัมพูชา ก่อนจะถูกพามายัง ทุ่งสังหารเพื่อฆ่าและฝังกลบในคราวเดียว
  • การทำลายกำแพงเบอร์ลิน

    การทำลายกำแพงเบอร์ลิน
    การทำลายกำแพงอาจดูเหมือนไม่มีอะไรน่าจดจำมากนัก แต่เมื่อตระหนักถึงสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นพร้อมกับกำแพงนั้นคุณจะเริ่มเห็นมันในแง่มุมใหม่ทั้งหมด  อย่างไรก็ตามยังมีความมั่นคงระหว่างประเทศต่างๆ ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรกันในช่วงสงครามโลกมีการแบ่งพวกอยู่สองฝ่ายและต่างฝ่ายต่างต้องการขยายแนวคิดระบอบการปกครองของตนออกไปให้ได้มากที่สุด
  • Period: to

    การทำลายกำแพงเบอร์ลิน

    การทำลายกำแพงอาจดูเหมือนไม่มีอะไรน่าจดจำมากนัก แต่เมื่อตระหนักถึงสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นพร้อมกับกำแพงนั้นคุณจะเริ่มเห็นมันในแง่มุมใหม่ทั้งหมด  อย่างไรก็ตามยังมีความมั่นคงระหว่างประเทศต่างๆ ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรกันในช่วงสงครามโลกมีการแบ่งพวกอยู่สองฝ่ายและต่างฝ่ายต่างต้องการขยายแนวคิดระบอบการปกครองของตนออกไปให้ได้มากที่สุด
  • Period: to

    สงครามเย็น

    สหรัฐอเมริกาเป็นตัวแทนของประชาธิปไตย ขณะที่สหภาพโซเวียตส่งเสริมลัทธิคอมมิวนิสต์การแข่งขันทางอำนาจทั้งสองประเทศต้องการขยายอิทธิพลทั่วโลกมาร์แชล1947สหรัฐฯ ส่งความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจเพื่อฟื้นฟูยุโรปตะวันตกสงครามเกาหลี1950-1953เกาหลีเหนือ สนับสนุนโดยจีนและโซเวียตปะทะกับเกาหลีใต้ สนับสนุนโดยสหรัฐ ส่งผลให้เกาหลีถูกแบ่งเป็นสองประเทศ วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา1962การค้นพบขีปนาวุธโซเวียตในคิวบานำไปสู่ความตึงเครียดที่สูงที่สุดระหว่างสองประเทศ สงครามเวียดนาม1955-1975สหรัฐฯ ส่งกำลังทหารเข้าไปสนับสนุนเวียดนาม
  • การระบาดของ โควิด-19

    การระบาดของ โควิด-19
    การระบาดของโควิด-19 เริ่มขึ้นในปลายปี 2019 และส่งผลกระทบต่อชีวิตทั่วโลก โดยมีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดมาตรการล็อกดาวน์และการเว้นระยะห่างทางสังคม ในการควบคุมการแพร่กระจายของไวรัส หลายประเทศพัฒนาวัคซีนและดำเนินการฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจน แม้สถานการณ์จะดีขึ้นในบางพื้นที่ แต่การระมัดระวังยังคงเป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันการระบาดซ้ำ
  • Period: to

    การระบาดของ โควิด-19

    การระบาดของโควิด-19 เริ่มขึ้นในปลายปี 2019 และส่งผลกระทบต่อชีวิตทั่วโลก โดยมีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดมาตรการล็อกดาวน์และการเว้นระยะห่างทางสังคม ในการควบคุมการแพร่กระจายของไวรัส หลายประเทศพัฒนาวัคซีนและดำเนินการฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจน แม้สถานการณ์จะดีขึ้นในบางพื้นที่ แต่การระมัดระวังยังคงเป็นสิ่งสำคัญในการป้องกันการระบาดซ้ำ
  • Period: to

    การก่อตั้งสภายุโรป

    สภายุโรปเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนในยุโรป ก่อตั้งขึ้นในปี 1949 โดยมีเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือและความมั่นคงในภูมิภาคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
  • สงครามยุทธหัตถี

    สงครามยุทธหัตถี
    สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว่า สงครามครั้งนี้มีความโดดเด่นในการต่อสู้ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชามังกยอชวา สงครามนี้เป็นการปลดปล่อยอยุธยาจากการครอบครองของพม่าต่อไปเป็นระยะเวลา 175 ปีจนถึง พ.ศ. 2310 เมื่อพระเจ้ามังระบุกตีอยุธยาซึ่งส่งผลให้การปกครองอยุธยาสิ้นสุดลง
  • Period: to

    สงครามยุทธหัตถี

    สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว่า สงครามครั้งนี้มีความโดดเด่นในการต่อสู้ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชามังกยอชวา สงครามนี้เป็นการปลดปล่อยอยุธยาจากการครอบครองของพม่าต่อไปเป็นระยะเวลา 175 ปีจนถึง พ.ศ. 2310 เมื่อพระเจ้ามังระบุกตีอยุธยาซึ่งส่งผลให้การปกครองอยุธยาสิ้นสุดลง
  • สมัยกรุงธนบุรี

    สมัยกรุงธนบุรี
    อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง พ.ศ. 2310–2325 ระยะเวลา 15 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา คือ กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
  • Period: to

    สมัยกรุงธนบุรี

    อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง พ.ศ. 2310–2325 ระยะเวลา 15 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา คือ กรุงเทพมหานครในปัจจุบัน
  • การทำสนธิสัญญาเบาว์ริง

    การทำสนธิสัญญาเบาว์ริง
    การทำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 2398 ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความสำคัญต่อไทยคือ เป็นการเปิดกว้างประเทศไทย ทำให้ไทยเข้าสู่สังคมนานาชาติ มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ทำให้ไทยเริ่มการปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสากล สนธิสัญญาเบาว์ริงก่อให้เกิดผลดีทางเศรษฐกิจในระยะสั้นๆ แต่ทำให้ไทยถูกจำกัดในเรื่องสิทธิการเก็บภาษีขาเข้า เรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเรื่องคนในบังคับของต่างชาติ
  • Period: to

    การทำสนธิสัญญาเบาว์ริง

    การทำสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 2400ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความสำคัญต่อไทยคือ เป็นการเปิดกว้างประเทศไทย ทำให้ไทยเข้าสู่สังคมนานาชาติ มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ทำให้ไทยเริ่มการปรับปรุงประเทศให้เป็นแบบสากล สนธิสัญญาเบาว์ริงก่อให้เกิดผลดีทางเศรษฐกิจในระยะสั้นๆ แต่ทำให้ไทยถูกจำกัดในเรื่องสิทธิการเก็บภาษีขาเข้า เรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเรื่องคนในบังคับของต่างชาติ
  • Period: to

    การเกิดขึ้นของอินเทอร์เน็ต

    อินเทอร์เน็ตเป็นผลจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีและการสื่อสารที่เริ่มต้นในช่วงกลางศตวรรษที่20ระบบเครือข่ายแรกที่พัฒนาของสหรัฐฯและหน่วยงานรัฐบาลซึ่งเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน โปรโตคอลทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายต่างๆ การเข้าสู่ยุคสาธารณะ(1990s)(1991)ทิม เบอร์เนอร์ส-ลีทำให้การเข้าถึงข้อมูลผ่านเบราว์เซอร์เป็นไปได้จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นอย่างเร็วการเกิดขึ้นของเว็บไซต์เช่นFacebook(2004)เปลี่ยนวิธีการสื่อสารการเพิ่มขึ้นของสมาร์ทโฟนและการเชื่อมตทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตสะดวกยิ่งขึ้น
  • Period: to

    การเกิดอารยธรรมจีน

    อารยธรรมจีนมีประวัติยาวนานเกือบ 5,000 ปี เริ่มต้นจากการตั้งถิ่นฐานในลุ่มแม่น้ำฮวงโห ซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับการเกษตรกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนามาจากยุคต่างๆ อารยธรรมจีนยังมีความสำคัญในด้านการประดิษฐ์ เช่น กระดาษ, การพิมพ์, เข็มทิศ, และดินปืน ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งในจีนและทั่วโลก ความต่อเนื่องและการปรับตัวของอารยธรรมนี้ทำให้จีนกลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญของโลกตลอดประวัติศาสตร์
  • Period: to

    การสร้างพีระมิดของอียิปต์

    การสร้างพีระมิดการก่อสร้างพีระมิดในกิซ่า แสดงถึงความก้าวหน้าในสถาปัตยกรรมและวิทยาศาสตร์ การสร้างพีระมิดใช้แรงงานจำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ทำงานในช่วงฤดูน้ำท่วมของแม่น้ำไนล์ใช้หินปูนและหินแกรนิตจากแหล่งหินที่ตั้งอยู่ไกลออกไป การขนส่งวัสดุเหล่านี้ใช้เทคนิคที่ซับซ้อนเครื่องมือใช้เครื่องมือที่ทำจากหินและทองแดงรวมถึงการใช้ไม้ในการขนย้าย มรดกทางวัฒนธรรมพีระมิดแห่งกิซ่าเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกโบราณและยังคงเป็นที่สนใจในด้านวิทยาศาสตร์และการท่องเที่ยว
  • Period: to

    การเกิดอารยธรรมอินเดีย

    ยุคหุบเขาอินดัส (ประมาณ 2600-1900 ปีก่อนคริสต์ศักราชอารยธรรมอินเดียเริ่มต้นที่หุบเขาอินดัส ซึ่งมีเมืองสำคัญ เช่น โมเฮนโจ-ดาโรและฮารัปปา ที่มีระบบการวางผังเมืองที่ก้าวหน้า ระบบน้ำประปาและการค้าขายที่เจริญรุ่งเรือง การเข้าสู่ยุคเวทประมาณ 1500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ชนเผ่าอารยัน เข้ามายังอินเดีย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและการเมือง โดยมีการพัฒนาศาสนาและวรรณกรรมที่เรียกว่า "เวท"ในช่วงเวลาต่อมา อาณาจักรใหญ่ เช่น อาณาจักรมอริยะในศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช
  • Period: to

    ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย

    จุดเริ่มต้นของศิลปะอินเดียนั้นย้อนกลับไปได้ถึงยุคก่อนประวัติศาสตร์ในราว3000ปีก่อนคริสต์กาลมาจนถึงปัจจุบันศิลปะอินเดียได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมและศาสนา เช่นฮินดู, พุทธ, ไชนะ, ซิกข์ และอิสลาม จึงมีการผสมผสานกันอย่างซับซ้อนของประเพณีและความเชื่อของศานาต่าง ๆ ปรากฏในศิลปะอินเดีย ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียมีความหลากหลายและซับซ้อน เริ่มจากยุคหุบเขาอินดัสจนถึงยุคสมัยใหม่ โดยมีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับศาสนา วรรณกรรม และวัฒนธรรมที่หลากหลาย ศิลปะอินเดียมีอิทธิพลต่ออารยธรรมอื่น ๆ และยังคงมีชีวิตชีวาในปัจจุบัน
  • ยุคหินใหม่

    ยุคหินใหม่
    หินใหม่ เป็นยุคทางโบราณคดี ถือเป็นส่วนสุดท้ายของยุคหิน ในยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะที่เกิดขึ้นในยุคหินใหม่ได้แก่การเริ่มต้นทำเกษตรกรรม, การทำปศุสัตว์ และการเปลี่ยนผ่านจากวิถีชีวิตแบบล่าและเก็บของป่า มาสู่การตั้งถิ่นฐาน คำว่า 'Neolithic' ประดิษฐ์ขึ้นโดยเซอร์จอห์น ลับบัก เมื่อปี 1865 เพื่อสรุประบบสามยุค ยุคหินใหม่เริ่มต้นเมื่อราว 12,000 ปีก่อน ในช่วงที่การทำเกษตรกรรมเริ่มมีขึ้นในตะวันออกใกล้ตามด้วยพื้นที่อื่นของโลกในภายหลัง
  • Period: to

    การเกษตรกรรม (ประมาณ 10,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

    การเกษตรกรรมก่อนปี 10,000 ปีคริสต์ศักราช ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงสำคัญในวิถีชีวิตของมนุษย์ในช่วงที่เรียกว่า ยุคหินใหม่ การพัฒนาการเกษตรประมาณ10,000ปีก่อนคริสต์ศักราช มนุษย์เริ่มทดลองปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ทำให้สามารถอยู่ประจำที่ได้ มนุษย์เริ่มเลือกพืชที่ให้ผลผลิตดี เช่น ข้าวสาลี มนุษย์เริ่มเลี้ยงสัตว์ เช่น แกะและแพะ เพื่อใช้เป็นแหล่งอาหารและเสื้อผ้าการเกษตรทำให้มนุษย์สามารถตั้งถิ่นฐานถาวรและสร้างหมู่บ้าน
    ความรู้และเทคนิคการเกษตรเริ่มแพร่กระจายไปยังพื้นที่อื่นเช่น ยุโรป เอเชียและอเมริกา
  • Period: to

    ยุคหินใหม่

    หินใหม่ เป็นยุคทางโบราณคดี ถือเป็นส่วนสุดท้ายของยุคหิน ในยุโรป เอเชีย และแอฟริกา ลักษณะที่เกิดขึ้นในยุคหินใหม่ได้แก่การเริ่มต้นทำเกษตรกรรม, การทำปศุสัตว์ และการเปลี่ยนผ่านจากวิถีชีวิตแบบล่าและเก็บของป่า มาสู่การตั้งถิ่นฐาน คำว่า 'Neolithic' ประดิษฐ์ขึ้นโดยเซอร์จอห์น ลับบัก เมื่อปี 1865 เพื่อสรุประบบสามยุค ยุคหินใหม่เริ่มต้นเมื่อราว 12,000 ปีก่อน ในช่วงที่การทำเกษตรกรรมเริ่มมีขึ้นในตะวันออกใกล้ตามด้วยพื้นที่อื่นของโลกในภายหลัง
  • Period: to

    ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์

    ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ คืองานศิลปะที่ได้เริ่มทำก่อนที่มนุษย์จะรู้จักการบันทึกเรื่องราวที่เรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยนับตั้งแต่ยุคหินเก่าตอนปลาย ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 30,000–10,000 ปีมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 15,000–10,000 ปีมานั้น มนุษย์ได้เขียนภาพสี และขูดขีดบนผนังถ้ำและเพิงผา เป็นภาพสัตว์ การล่าสัตว์และภาพลวดลายเรขาคณิต โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงออกเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจำวันและแสดงความสามารถในการล่าสัตว์