Educ1

Korea Education

  • เกาหลีได้รับอิสภาพจากญี่ปุ่น

    เกาหลีได้รับอิสภาพจากญี่ปุ่น
    หลังจากที่ญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้ ปิดฉากสงครามโลกครั้งที่ 2 ลง ทำให้คาบสมุทรเกาหลีได้รับอิสระ หลังถูกปกครองโดยจักรพรรดิญี่ปุ่นมากว่า 35 ปี ส่งผลการการศึกษาของเกาหลีตกสู่ขั้นวิกฤต เพราะก่อนหน้านี้คนญี่ปุ่นเท่านั้นที่เป็นครูได้ ทำให้เกาหลีเกิดภาวะขาดแคลนครู
  • อเมริกายื่นมือเข้าช่วยในการพัฒนาหลักสูตร

    อเมริกายื่นมือเข้าช่วยในการพัฒนาหลักสูตร
    อีกทั้งยังมีการฝึกอบรบครูให้แก่เกาหลีอีกด้วย
  • Using the basic of education law.

    Using the basic of education law.
    กำหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิได้รับการศึกษาตามความสามารถ โดยเด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย ซึ่งรัฐจัดให้ฟรี ระบบการศึกษาเป็นระบบ 6 - 3 - 3 - 4 คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย 4 ปี
  • Period: to

    The Korea War

  • USA was Educational Planning Mission to Korea by United Nations Korean Reconstruction Agency.

    USA was Educational Planning Mission to Korea by United Nations Korean Reconstruction Agency.
    To carry out pre-service and in-service teacher training programs.
  • USA created the Curriculum Handbook

    USA created the Curriculum Handbook
    American Education Team created the Curriculum Handbook for the Schools of Korea for Korean educators
  • เกาหลีใช้คติ "Can do"

    เกาหลีใช้คติ "Can do"
    ประชาชนเกาหลีใต้ ใช้คติ can do คือสามารถทำได้ ผลักดันการศึกษา ทำให้มีพลังมุ่งไปสู่เป้าหมาย
  • Period: to

    South Korea discovered that its hyper-meritocratic system of education and personal advancement, all keyed to its examination system, was narrowing the scope of elementary school education in destructive ways.

  • มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรม

    มุ่งพัฒนาอุตสาหกรรม
    เกาหลเริ่มต้นพัฒนาอุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
    มีการรณรงค์ให้คนในชาติมีความขยันหมั่นเพียร มีความปรารถนาที่จะสร้างเกาหลีใหม่ โดยการผลิตทรัพยากรที่มีคุณภาพ และสร้างวัฒธรรมใหม่ให้กับสังคม
    และเน้นการศึกษาเพื่อให้คนในชาติรู้จักแสวงหาความรู้และเทคโนโลยีใหม่
  • ก่อตั้งมหาวิทยาลัยทางการศึกษา Korea National University of Education

    ก่อตั้งมหาวิทยาลัยทางการศึกษา  Korea National University of Education
    เพื่อผลิตครูชั้นนำที่สามารถสอนและวิจัย เกี่ยวกับการศึกษาในระดับอนุบาล ประถมและมัธยมได้ รวมทั้งสร้างบุคลากรที่จะเป็นหัวหอกของการปฏิรูปการศึกษา ตลอดจนการเน้นบทบาทด้านการฝึกอบรมครูและวิจัยทางการศึกษา
  • บัญญัติกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดแนวทางและเป้าหมายการศึกษา

    บัญญัติกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดแนวทางและเป้าหมายการศึกษา
  • ก่อตั้งสภาที่ปรึกษาด้านนโยบายการศึกษา (The Advisory Council for Educational Policy)

    ก่อตั้งสภาที่ปรึกษาด้านนโยบายการศึกษา (The Advisory Council for Educational Policy)
    ทำหน้าที่ประเมินนโยบายการศึกษาของรัฐบาลและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการศึกษา เพื่อให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คำแนะนำที่เคยบังเกิดผลเป็นรูปธรรมเช่น การปรับปรุงระบบการสอบเข้าวิทยาลัยอาชีวศึกษา การกำหนดระบบความเป็นอิสระของการศึกษาท้องถิ่น การระบุเงื่อนไขของการศึกษาพิเศษ การปฏิรูปมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีวะ ระบบการประกันคุณภาพครู เป็นต้น สภาที่ปรึกษานี้ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและด้านที่เกี่ยวข้องจำนวน 60 คน จัดแบ่งเป็น 6 คณะอนุกรรมการ และคณะทำงานรวม
  • แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อปฏิรูปการศึกษาไปสู่ศตวรรษที่ื 21ครั้งแรก

    แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อปฏิรูปการศึกษาไปสู่ศตวรรษที่ื 21ครั้งแรก
    คณะกรรมการเพื่อปฏิรูปการศึกษา ทำหน้าที่เป็นกรรมการที่ปรึกษาให้แก่ประธานาธิบดี เพื่อการปฏิรูปการศึกษาไปสู่ยุคศตวรรษที่ 21 กำหนดแผนการเพื่อพัฒนาการศึกษาทั้งระยะสั้นและระยะยาวตลอดจนพิจารณาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมการปฏิรูปการศึกษาทั่วประเทศ
  • จัดตั้งระบบการกระจายเสียงเพื่อการศึกษาขึ้น (The Educational Broadcasting System)

    จัดตั้งระบบการกระจายเสียงเพื่อการศึกษาขึ้น (The Educational Broadcasting System)
    กลุ่มสื่อวิทยุได้มีการดำเนินรายการที่เอื้อต่อการศึกษาอย่างจริงจังโดยในปี 1990 ได้จัดตั้งระบบการ กระจายเสียงเพื่อการศึกษาขึ้น (The Educational Broadcasting System) ในด้านโทรทัศน์และเคเบิ้ลทีวี ก็ดำเนินรายการทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้น
  • องค์กรเอกชนเข้ามามีบทบาทพัฒนาการศึกษา

    องค์กรเอกชนเข้ามามีบทบาทพัฒนาการศึกษา
    สภาการศึกษามหาวิทยาลัยแห่งเกาหลีเป็นองค์กรสำคัญในการสร้างความอิสระของสถาบันอุดมศึกษา ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการบริหารวิชาการในมหาวิทยาลัย ระบบการสอบเข้าการกำหนดแนวทางช่วยเหลือด้านการเงิน การพัฒนาหลักสูตรและการสอน รวมทั้งระบบการวัดผล เป็นต้น องค์กรเอกชนอีกองค์กรหนึ่งที่ช่วยพัฒนาการศึกษาระดับมัธยมศึกษาได้แก่ สมาคมอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนเกาหลี มีบทบาทเป็นแหล่งข้อมูลให้แก่สมาชิก เสนอแนะเชิงนโยบายแก่กระทรวงศึกษาธิการและกรรมการการศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาโรงเรียน เอกชน
  • แต่งตั้งกรรมาธิการของประธานาธิบดีเพื่อปฏิรูปการศึกษา

    แต่งตั้งกรรมาธิการของประธานาธิบดีเพื่อปฏิรูปการศึกษา
    โดยมีจุดมุ่งหมายคือ
    1.มาตรฐานการศึกษาของประเทศจะต้องเทียบได้กับมาตรฐานโลก
    2.ต้องสร้างความเข้าใจในวัฒนธรรมของเกาหลีอย่างลึกซึ้ง เพื่อการดำรงรักษามรดกวัฒนธรรมแห่งชาติ
    3.ต้องมีมุมมองแบบหลากหลายวัฒนธรรม
    4.ต้องมีการกระจายอำนาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษามากยิ่งขึ้น
    โดยได้ปรับเปลี่ยนกฎหมายการศึกษาจากเดิมเป็น 3ฉบับคือ กฎหมายพื้นฐานทางการศึกษา กฎหมายการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษา และกฎหมายการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยมีกฎหมายที่เรียกว่า Local Education Autonomy Act รองรับการดำเนินงานตามรูปแบบใหม่
  • เกาหลีใต้ใช้วิธีการสุ่มนักเรียนเข้าเรียน ม ปลาย

    เกาหลีใต้ใช้วิธีการสุ่มนักเรียนเข้าเรียน ม ปลาย
    วิธีการรับนักเรียนเข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้วิธีที่เรียกว่าทำให้โรงเรียนในทุกพื้นที่มีฐานะที่จะถูกเลือกเท่ากัน แล้วใช้วิธีการสุ่มเลือกด้วยคอมพิวเตอร์ (random assigment method) โดยนักเรียนจะถูกเลือกเข้าสู่โรงเรียนของรัฐหรือเอกชน ภายหลังจากคัดเลือกเข้าสู่โรงเรียนมัธยมตอนปลายสายอาชีพแล้ว
  • กระจายการบริหารการศึกษาไปสู่ท้องถิ่น

    กระจายการบริหารการศึกษาไปสู่ท้องถิ่น
    รัฐได้ตั้งสำนักงานระดับเมืองและจังหวัด 15 แห่ง ระดับรองลงมาคือ ระดับอำเภออีก 175 แห่ง ในแต่ละแห่งจะมีผู้อำนวยการ (Superintendent) เป็นผู้บริหารและมีคณะกรรมการการศึกษาเป็นองค์กรตัดสิน ทางแก้เสนอแนะปัญหาหลัก ๆ หรือปัญหาระดับนโยบาย ตัวผู้อำนวยการได้มาจากการเลือกตั้งโดยคณะกรรมการการศึกษา มีวาระ 4 ปี ผู้อำนวยการ มีบทบาทโดยรวมในการกำหนดระเบียบปฏิบัติ วางแผนงบประมาณทำรายงานการเงิน บริหารจัดการหลักสูตร จัดหาอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษา เป็นต้น
  • New policy will reducing gap between urban and rural students.

    New policy will reducing gap between urban and rural students.
    It is closing the gap in student achievement between urban and rural schools and advantaged and disadvantaged students.
  • PISA assesment is successful

    PISA assesment is successful
    South Korea ranked second in reading, fourth in mathematics and sixth in science.
  • New Policy for improve education

    New Policy for improve education
    The goals are strengthening and supporting school autonomy, hiring more competent leaders, building creative learning opportunities, and stimulatinging teachers to develop themselves.
  • Period: to

    เกาหลีใต้มีการวางแผนเพื่อพัฒนาการปฏิรูปการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21

    เกาหลีใต้วางแผนพัฒนาการศึกษาเพื่อความเป็นผู้นำในยุคสารสนเทศและโลกาภิวัฒน์ สำหรับศตวรรษที่ 21 (พัฒนาแผนอย่างต่อเนื่องไปในอนาคต)