Img 6902

ยุคคลาสสิค

  • 850 BCE

    โฮเมอร์

    โฮเมอร์
    ในความหมายที่เป็นสากล จะหมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักการตั้งถิ่นฐานถาวร สร้างอารยธรรม วัฒนธรรม อักษรต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งในแต่ละประเทศ สมัยโบราณจะมาถึงเร็วหรือช้า จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับว่าช่วงเวลาใดทีประเทศนั้นอยู่ในช่วงสร้างและประดิษฐ์อารยธรรมที่จะเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่าอารยธรรมของประเทศนี้เริ่มต้นขึ้นแล้ว ช่วงเวลานั้น ของประเทศนั้น ก็จะจัดอยู่ในช่วงสมัยโบราณ
  • 808 BCE

    ก่อตั้งเมืองมาซิโดเนีย

    ก่อตั้งเมืองมาซิโดเนีย
    ในความหมายที่เป็นสากล จะหมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักการตั้งถิ่นฐานถาวร สร้างอารยธรรม วัฒนธรรม อักษรต่าง ๆ ขึ้นมา ซึ่งในแต่ละประเทศ สมัยโบราณจะมาถึงเร็วหรือช้า จะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับว่าช่วงเวลาใดทีประเทศนั้นอยู่ในช่วงสร้างและประดิษฐ์อารยธรรมที่จะเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่าอารยธรรมของประเทศนี้เริ่มต้นขึ้นแล้ว ช่วงเวลานั้น ของประเทศนั้น ก็จะจัดอยู่ในช่วงสมัยโบราณ
  • 800 BCE

    ยุคมืดของกรีก

    ยุคมืดของกรีก
    เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์กรีซนับตั้งแต่สิ้นอารยธรรมไมซีนีประมาณ 1100 ปีก่อนคริสตกาลจนถึงเริ่มยุคอาร์เคอิกราว 750 ปีก่อนคริสตกาล[1]
  • 776 BCE

    กีฬาโอลิมปิคครั้งแรก

    กีฬาโอลิมปิคครั้งแรก
    ตั้งแต่ 776 ปีก่อนคริสต์ศักราช “การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก” ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ชาวกรีกสมัยนั้นเชื่อว่าเป็นการแข่งขันเพื่อสดุดีเทพเจ้าซุส, อะพอลโล และโพไซดอน การได้ไป “โอลิมเปีย” เมืองโบราณบนคาบสมุทรเพโลพอนนีส สถานที่กำเนิดของกีฬาโอลิมปิกโบราณ จึงเสมือนเป็นการจาริกแสวงบุญ ที่ดึงดูดผู้คนจากนครรัฐต่างๆ ในจักรวรรดิของกรีก และอาณานิคมแดนไกลถึงสเปน และแอฟริกา ต่างก็มารวมกันที่ที่ราบโอลิมเปียอันเป็นสถานที่จัดการแข่งขัน... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.silpa-mag.com/history/article_83267
  • 753 BCE

    อณาจักรโรม

    อณาจักรโรม
    จักรวรรดิโรมัน เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์
  • 624 BCE

    เธลีสกำเนิด

    เธลีสกำเนิด
    เธลีสเป็นนักปริชญาชาวกรีก เป็นนักวิทยาศาตร์ และคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียง เธลิส เป็นชาวเมืองไมล์ตุส(Miletus) ซึ่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของตรุกี เธลีสใช้ชีวิตอยู๋ในช่วงเวลาประมาณ 600 ปี ก่อนคริตศตวรรศอย่างไรก็ดีผลงานของเธลิสที่เป็นข้อเขียนไม่หลงเหลือเป็นหลักฐานเลย แต่จากหลักฐานที่กล่าวอ้างถึงเธลิสโดยนักคณิตศาสตร์ผู้อื่นพบว่า
  • 570 BCE

    โพลีเครติส

    โพลีเครติส
    ลูกของโสโฟรนิกัส (Sophronicus) ผู้เป็นพ่อ และ แฟนาเรต (Phaenarete) ผู้เป็นแม่ โสกราตีสได้แต่งงานกับซานทิปป์ (Xanthippe) และมีลูกชายถึง 3 คน เมื่อเทียบกับสังคมสมัยนั้นซานทิปป์ถึงได้ว่าเป็นผู้หญิงอารมณ์ร้าย และโสกราตีสเองได้กล่าวว่าเพราะเขาสามารถใช้ชีวิตกับซานทิปป์ได้ เขาใช้ชีวิตกับมนุษย์คนใดก็ได้ เหมือนกับผู้ฝึกม้าที่สามารถทนกับม้าป่าได้ โสกราตีสได้เห็นและร่วมรบในสมรภูมิ และ ตามสิ่งที่เพลโตได้กล่าวว่า โสกราตีสได้รับเหรียญเกียรติยศสำหรับความกล้าหาญในสมรภูมิรบ
  • 569 BCE

    พีทาโกรัสกำเนิด

    พีทาโกรัสกำเนิด
    พีทาโกรัสเกิดเมื่อประมาณ 570 ปีก่อนคริสตกาล ที่เมืองซามอส (ปัจจุบันอยู่ในประเทศกรีซ) และเป็นบุตรชายของพีทาอิสและเนซาร์คัส พีทาโกรัสได้ออกจากบ้านเกิดเมืองนอนของเขาไปที่โครโทน (Croton) ในทางใต้ของอิตาลีเมื่อเขาเป็นชายหนุ่ม เพื่อที่จะหลีกหนีจากรัฐบาลทรราชของโพลีเครติส
  • 551 BCE

    ขงจื้อกำเนิด

    ขงจื้อกำเนิด
    ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน [1] ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ
  • Period: 551 BCE to 479 BCE

    ขงจื้อกำเนิด

  • 550 BCE

    จักรวรรดิเปอร์เซีย

    จักรวรรดิเปอร์เซีย
    คือจักรวรรดิและอาณาจักรต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ของเปอร์เชียที่ปกครองต่อเนื่องกันมาในบริเวณที่ราบสูงอิหร่าน, ถิ่นกำเนิดของเปอร์เซีย และไกลไปทางเอเชียตะวันตก, เอเชียใต้, เอเชียกลาง และ บริเวณคอเคซัส[1] จักรวรรดิเปอร์เซียจักรวรรดิแรกก่อตั้งภายใต้จักรวรรดิมีเดีย (728–559 ปีก่อนคริสต์ศักราช) หลังจากการโค่นจักรวรรดิอัสซีเรียด้วยความช่วยเหลือของบาบิโลเนีย
  • Period: 550 BCE to 330 BCE

    จักรวรรดิเปอร์เซีย

  • 540 BCE

    ลีโอไนดัสที่1

    ลีโอไนดัสที่1
    พระเจ้าลีออนิดัสที่ 1 (อังกฤษ: Leonidas I; กรีกดอริก: Λεωνίδας Α´, Leōnídas A'; กรีกไอโอนิกและแอตติก: Λεωνίδης, เล-ออ-นี-แดส, [leɔːnídɛːs]; "บุตรแห่งสิงโต"; สวรรคต 19 กันยายน 480 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นพระมหากษัตริย์นักรบกล้าหาญแห่งนครรัฐกรีกสปาร์ตา พระองค์ทรงนำกำลังทัพสปาร์ต้าระหว่างการบุกครองกรีซครั้งที่สองของเปอร์เซีย
  • Period: 540 BCE to 480 BCE

    ลีโอไนดัสที่1

  • 524 BCE

    เธมิสโตคลิส

    เธมิสโตคลิส
    เป็นนักการเมืองและแม่ทัพชาวเอเธนส์ เธมิสโตคลีสเป็นนักการเมืองสายพันธ์ใหม่ของเอเธนส์ในยุคที่ประชาธิปไตยก่อตัว โดยไม่ได้มาจากครอบครัวชนชั้นสูง โดยเขาเป็นหนึ่งในนักการเมืองประชานิยมที่มีฐานเสียงเป็นพลเมืองชั้นล่างของเอเธนส์ และมักขัดแย้งกับอภิสิทธิชนในเอเธนส์ เธมิสโตคลีสถูกเลือกให้เป็น อาร์คอน
  • Period: 524 BCE to 459 BCE

    เธลีสโตคลิส

  • 522 BCE

    ดาไรอัสที่1

    ดาไรอัสที่1
    หรือที่รู้จักในพระนาม ดาไรอัสมหาราช เป็นผู้ปกครองชาวเปอร์เซียที่ดำรงตำแหน่งพระราชาธิราชแห่งจักรวรรดิอะคีเมนิดองค์ที่ 3 ตั้งแต่ 522 ปีก่อน ค.ศ. จนกระทั่งสวรรคตใน 486 ปีก่อน ค.ศ. พระองค์ครองจักรวรรดิในช่วงที่มีดินแดนมากที่สุด ซึ่งกินพื้นที่ในเอเชียตะวันตก บอลข่านบางส่วน (เทรซ–มาซิโดเนียกับPaeonia) และคอเคซัส ภูมิภาคชายฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่ เอเชียกลาง ลุ่มแม่น้ำสินธุทางตะวันออกไกล และพื้นที่ส่วนหนึ่งในแอฟริกาเหนือกับแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ รวมอียิปต์ (Mudrâya) ลิเบียตะวันออก และชายฝั่งซูดาน[2][3]
  • Period: 522 BCE to 486 BCE

    ดาไรอัสที่1

  • 519 BCE

    เซอซิสที่1

    เซอซิสที่1
    หรือ เซิร์กซีสมหาราช (อังกฤษ: Xerxes I; 519 – 465 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชโอรสในดาไรอัสมหาราช เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 486 ปีก่อน ค.ศ. พระองค์จึงขึ้นครองราชย์เมื่อเดือนตุลาคม 486 ปีก่อน ค.ศ. ขณะพระชนม์ได้ 34 พรรษา
  • Period: 519 BCE to 465 BCE

    เซอซิสที่1

  • 518 BCE

    ราชิแห่งสปาต้า

    ราชิแห่งสปาต้า
    คือหญิงสาวผู้เป็นชนวนศึกในสงครามเมืองทรอย ปกรณัมเก่าแก่ของกรีก ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของงานมหากาพย์อีเลียดและโอดิสซีย์ ส่วนใหญ่มักเรียกชื่อนางว่า เฮเลนแห่งสปาร์ตา หรือ เฮเลนแห่งทรอย นางเป็นบุตรีของเทพซูสกับนางลีดา มีพี่ชายคือแคสเตอร์ พอลลักซ์ และคลีเทมเนสตรา
  • Period: 518 BCE to 508 BCE

    ราชินีแห่งสปาต้า

  • 496 BCE

    เพริคลีสที่1

    เพริคลีสที่1
    เป็นรัฐบุรุษ นักปราศัย และนายพล ที่มีชื่อเสียงและทรงอิทธิพลอย่างสูง แห่งนครรัฐเอเธนส์ ในช่วงยุครุ่งเรืองของนครรัฐเอเธนส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่กรีกทำสงครามสู้รบกับเปอร์เซีย (ดู สงครามกรีก-เปอร์เซีย) และ ในช่วงมหาสงครามเพโลพอนนีเซียน
  • Period: 495 BCE to 429 BCE

    เพริคลีสที่1

  • 484 BCE

    เฮรอดอทัส

    เฮรอดอทัส
    เป็นนักประวัติศาสตร์ชาวกรีกโบราณ ผู้เกิดที่ฮาลิการ์แนสซัสในจักรวรรดิเปอร์เซีย (ปัจจุบันคือโบดรุม, ประเทศตุรกี) เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ประพันธ์ เดอะฮิสตอรีส (กรีก: Ἱστορίαι Historíai) เนื้อหาเกี่ยวกับการบันทึกสงครามกรีก-เปอร์เซีย เขามักได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" ที่ซึ่งมีผู้เรียกขานเขาเช่นนี้มาตั้งแต่หนึ่งร้อยปีก่อนคริสตกาล[1]
  • Period: 484 BCE to 425 BCE

    เฮรอดอทัส

  • 480 BCE

    เปอร์เซียรุกรานกรีกครั้งที่2

    เปอร์เซียรุกรานกรีกครั้งที่2
    การบุกครองกรีซครั้งที่สองของเปอร์เซีย เกิดขึ้นในช่วงสงครามกรีก-เปอร์เซีย ระหว่างปีที่ 480–479 ก่อนคริสตกาล โดยจักรพรรดิเซอร์ซีสมหาราชต้องการพิชิตกรีซทั้งหมด หลังความพยายามครั้งแรกของจักรพรรดิดาไรอัสมหาราช พระราชบิดา ในการบุกกรีซล้มเหลว เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคต จักรพรรดิเซอร์ซีสใช้เวลาหลายปีในการวางแผนและรวบรวมกำลังพ
  • Period: 480 BCE to 479 BCE

    เปอร์เซียรุกรานกรีกครั้งที่2

  • 470 BCE

    โสเครติส

    โสเครติส
    โสกราตีสเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ที่ไม่ได้มีผลงานการเขียนอะไร แต่ตัวตนและความคิดของเขายังคงอยู่ถึงปัจจุบันผ่านงานเขียนของบุคคลอย่าง อริสโตเติล (Aristotle) เพลโต (Plato) อริสโตฟานเนส (Aristophanes) หรือ ซีโนฟอน (Xenophon) นอกจากนั้นยังมีทั้งนักเขียน นักคิด และนักปราชญ์ที่เก็บเรื่องราวของโสกราตีส อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถรู้ว่าข้อมูลเรื่องเล่าถึงชีวิตของโสกราตีสนั้นจริงหรือเท็จได้อย่างแน่นอน
  • Period: 470 BCE to 399 BCE

    โสเครติส

  • 447 BCE

    วิหารพาเธนอน

    วิหารพาเธนอน
    เป็นวิหารโบราณ[6][7] บนอะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ ประเทศกรีซ สร้างเพื่ออุทิศแด่เทพีอะธีนา ซึ่งชาวเอเธนส์นับถือเป็นองค์อุปถัมภ์ของพวกเขา การก่อสร้างเริ่มต้นใน 447 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อสันนิบาตดีเลียนเรืองอำนาจ ตัววิหารสร้างเสร็จใน 432 ปีก่อนคริสต์ศักราช ถึงแม้ว่าการตกแต่งตัววิหารจะดำเนินต่อไปจนถึง 428 ปีก่อนคริสต์ศักราชก็ตาม พาร์เธนอนเป็นอาคารสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของกรีซสมัยคลาสสิกที่ยังคงหลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน นับว่าเป็นจุดสูงสุด (Zenith) ของเสาแบบดอริก[5][8]
  • Period: 447 BCE to 432 BCE

    วิหารเพธานอน

  • 427 BCE

    เพลโต

    เพลโต
    เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์
  • Period: 427 BCE to 347 BCE

    เพลโต

  • 400 BCE

    ยุคลิค

    ยุคลิค
    บางครั้งถูกเรียกว่า ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย[1] (อังกฤษ: Euclid of Alexandria, เพื่อแยกเขาออกจากยุคลิดแห่งเมการา) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวกรีกโบราณที่มีชีวิตอยู่ในช่วง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของยุคลิดคือหนังสือเอเลเมนส์ (The Elements) ซึ่งเป็นหนังสือรวบรวมทฤษฎีบทในคณิตศาสตร์ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเรขาคณิต)
  • Period: 400 BCE to 300 BCE

    ยุคลิค

  • 384 BCE

    อริสโตเติล

    อริสโตเติล
    หรือเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า อาริสโตเติล (อังกฤษ: Aristotle, 384–322 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนักปรัชญาและผู้รู้รอบด้านชาวกรีกระหว่างสมัยคลาสสิกในกรีซโบราณ เป็นศิษย์ของเพลโต ผู้ก่อตั้งไลเซียม, สำนักปรัชญาเพริพาเททิก และขนบอาริสโตเติล งานนิพนธ์ของเขาครอบคลุมหลายสาขาวิชารวมทั้งฟิสิกส์ ชีววิทยา สัตววิทยา อภิปรัชญา ตรรกศาสตร์ จริยศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ บทกวี การละคร ดนตรี วาทศาสตร์ จิตวิทยา ภาษาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองและการปกครอง
  • Period: 384 BCE to 322 BCE

    อลิสโตเติล

  • 382 BCE

    ฟิลิปที่2

    ฟิลิปที่2
    ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กาเปเตียง ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1179 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1223 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยแรกที่ออกพระนามว่า "พระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส" ซึ่งในรัชสมัยก่อนหน้านี้ล้วนแต่ออกพระนามว่า "พระมหากษัตริย์ของชาวแฟรงก์"
  • Period: 382 BCE to 336 BCE

    ฟิลิปที่2

  • 356 BCE

    อเล็กซานเดอร์

    อเล็กซานเดอร์
    หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า อเล็กซานเดอร์มหาราช (อังกฤษ: Alexander the Great; 20/21 กรกฎาคม 356 ปีก่อน ค.ศ. – 10/11 มิถุนายน 323 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นจอมกษัตริย์กรีกโบราณแห่งราชอาณาจักรมาเกโดนีอา เป็นสมาชิกของราชวงศ์อาร์กีด ประสูติในเมืองเพลลาในปี 356 ก่อนคริสตกาลและขึ้นสืบบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดาขณะมีวัยเพียง 20 ปี อเล็กซานเดอร์ใช้เวลาส่วนใหญ่ในรัชสมัยของเขาไปกับการสู้รบอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อนในทวีปเอเชียและแอฟริกาตอนเหนือ
  • Period: 356 BCE to 323 BCE

    อเล็กซานเดอร์

  • 304 BCE

    อโศก

    อโศก
    อโศกมหาราช เป็นจักรพรรดิเมาริยะองค์ที่ 3 แห่งแคว้นมคธในอนุทวีปอินเดียตั้งแต่ ป. 268 ถึง 232 ปีก่อน ค.ศ. พระองค์เป็นผู้มีบทบาทมากต่อการเผยแผ่ศาสนาพุทธจักรพรรดิอโศกขยายดินแดนของจักรวรรดิจากสมัยของพระเจ้าจันทรคุปตเมารยะไปถึงพื้นที่ที่ปัจจุบันคืออัฟกานิสถานจนถึงบังกลาเทศ เกือบทั่วทั้งอนุทวีปอินเดีย ยกเว้นเพียงบางส่วนของที่ซึ่งปัจจุบันคือรัฐทมิฬนาฑู, กรณาฏกะ และเกรละ ราชธานีในรัชสมัยคือปาฏลีบุตร (ใน มคธ, ปัจจุบันคือปัฏนา) และราชธานีชนบทที่ตักศิลา และ อุชไชนะ
  • Period: 304 BCE to 232 BCE

    อโศก

  • 287 BCE

    อาร์คิสมีดิส

    อาร์คิสมีดิส
    เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก เกิดเมื่อ 287 ปีก่อนคริสตกาล ในเมืองซีรากูซา ซึ่งในเวลานั้นเป็นนิคมท่าเรือของกรีก แม้จะมีรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก แต่เขาก็ได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำในสมัยคลาสสิก ความก้าวหน้าในงานด้านฟิสิกส์ของเขาเป็นรากฐานให้แก่วิชา สถิตยศาสตร์ของไหล,
  • Period: 287 BCE to 212 BCE

    อาร์คิสมีดิส

  • 221 BCE

    จิ๋นซี

    จิ๋นซี
    เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งจักรวรรดิจีน[5][5] ทรงก่อตั้งราชวงศ์ฉิน และไม่ทรงใช้ตำแหน่ง หวัง (王) เหมือนพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์ชางและราชวงศ์โจวก่อนหน้านี้ แต่ทรงใช้ตำแหน่ง หฺวังตี้ (皇帝) อันเป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์จีนทรงใช้สืบ ๆ กันมาอีกสองพันปี
  • 221 BCE

    ราชวงศ์ฉิน

    ราชวงศ์ฉิน
    ราชวงศ์ฉินก่อตั้งโดยจักรพรรดิฉินฉื่อ จักรพรรดิพระองค์แรกของราชวงศ์ จากการปฏิรูปกฎหมายของชาง ยาง ช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ. ในยุครณรัฐ ส่งผลให้รัฐฉินแข็งแกร่งเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในช่วงกลางและปลายศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ. รัฐฉินได้ดำเนินการพิชิตอย่างรวดเร็ว อันดับแรกได้ยุติอำนาจของราชวงศ์โจว และพิชิต 6 รัฐในเจ็ดรณรัฐ ช่วงระยะเวลา 15 ปีถือเป็นเวลาที่สั้นมากสำหรับราชวงศ์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์จีนมีจักรพรรดิเพียง 2 พระองค์ แต่ได้สร้างระบบจักรวรรดิของจีนที่เริ่มตั้งแต่ 221 ก่อน ค.ศ. จนถึง 206 ก่อน ค.ศ.
  • Period: 221 BCE to 206 BCE

    ราชวงศ์ฉิน

  • Period: 221 BCE to 210 BCE

    จิ๋นซี

  • 220 BCE

    สามก๊ก

    สามก๊ก
    เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษา[1]และมีการตีพิมพ์อย่างแพร่หลายทั่วโลก แต่งขึ้นประมาณในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ยุคสมัยราชวงศ์หมิง บทประพันธ์โดยล่อกวนตง
  • 206 BCE

    ราชวงศ์ฮั่น

    ราชวงศ์ฮั่น
    ราชวงศ์ฮั่นสถาปนาโดยหลิวปังหรือจักรพรรดิฮั่นไท่จู่ ซึ่งถือเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่องค์ที่ 2 ของชนชาติจีนที่สามารถรวมประเทศจีนเป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ราชวงศ์ฮั่นแบ่งเป็น 2 ช่วง ราชวงศ์ฮั่นตอนต้นมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่นครฉางอันจึงได้รับการขนานนามว่าฮั่นตะวันตก เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลายได้ย้ายเมืองหลวงมายังนครลั่วหยังเรียกว่าฮั่นตะวัผู้ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่นนั้น
  • Period: 206 BCE to 25

    ราชวงศ์ฮั่น

  • 106 BCE

    ซิเซโร

    ซิเซโร
    ราชวงศ์ฮั่นสถาปนาโดยหลิวปังหรือจักรพรรดิฮั่นไท่จู่ ซึ่งถือเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่องค์ที่ 2 ของชนชาติจีนที่สามารถรวมประเทศจีนเป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ราชวงศ์ฮั่นแบ่งเป็น 2 ช่วง ราชวงศ์ฮั่นตอนต้นมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่นครฉางอันจึงได้รับการขนานนามว่าฮั่นตะวันตก เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลายได้ย้ายเมืองหลวงมายังนครลั่วหยังเรียกว่าฮั่นตะวัผู้ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่นนั้น
  • Period: 106 BCE to 43 BCE

    ซิเซโร

  • 100 BCE

    จูเลียสซีซ่า

    จูเลียสซีซ่า
    เป็นรัฐบุรุษ แม่ทัพ และผู้ประพันธ์ร้อยแก้วอันเลื่องชื่อชาวโรมัน เขามีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์อันนำไปสู่การสิ้นสุดสาธารณรัฐโรมันและความเจริญของจักรวรรดิโรมัน ใน 60 ปีก่อน ค.ศ. ซีซาร์, กรัสซุส และปอมปีย์ ตั้งพันธมิตรทางการเมืองซึ่งจะครอบงำการเมืองโรมันไปอีกหลายปี
  • Period: 100 BCE to 44 BCE

    จูเลียสซีซ่า

  • 69 BCE

    คลีโอพัตรา

    คลีโอพัตรา
    เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์พระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย พระราชบิดาของพระองค์คือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระราชมารดาเป็นพระเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา"
  • Period: 69 BCE to 30 BCE

    คลีโอพัตรา

  • 7 BCE

    เยซู

    เยซู
    เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์
  • Period: 7 BCE to 2 BCE

    เยซู

  • 37

    เนโร

    เนโร
    เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันองค์ที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 37 ที่เมืองอันติอูง จักรวรรดิโรมัน มีพระนามเต็มตอนประสูติว่า ลูกิอุส ดอมิติอุส อาเอนอบาร์บุส (LVCIVS DOMITIVS AHENOBARBVS) บิดาชื่อกไนอุส ดอมิติอุส อาเอนอบาร์บุส มารดาชื่ออากริปปีนา ซึ่งมีศักดิ์เป็นน้องสาวของจักรพรรดิกาลิกุลา จักรพรรดิรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุส
  • Period: 37 to 68

    เนโร

  • 79

    ภูเขาวิซูเวียส

    ภูเขาวิซูเวียส
    นักประวัติศาสตร์ทราบเรื่องการปะทุครั้งนี้จากบันทึกของพลินีผู้เยาว์ (Pliny the Younger) นักการเมืองและกวีชาวโรมันซึ่งเห็นเหตุการณ์มาด้วยตาตนเอง[1] การปะทุครั้งนี้ยังเป็นที่มาของคำศัพท์ว่า "การปะทุแบบวิซูเวียส" (Vesuvian eruption) ที่ใช้เรียกการประทุประเภทหนึ่งของภูเขาไฟ
  • 100

    ทอเลมี

    ทอเลมี
    หรือเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า ทอเลมี (อังกฤษ: Ptolemy) เป็นนักภูมิศาสตร์ นักดาราศาสตร์[1] และนักโหราศาสตร์ชาวโรมันเชื้อสายกรีกโบราณ คาดว่ามีชีวิตและทำงานอยู่ในเมืองอเล็กซานเดรีย จักรวรรดิโรมัน[1]
  • Period: 100 to 170

    ทอเลมี

  • 192

    อณาจักรจามปาม

    อณาจักรจามปาม
    ตั้งอยู่ทั่วชายฝั่งซึ่งปัจจุบันคือภาคกลางและภาคใต้ของเวียดนาม ดำรงอยู่ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 จนถูกจักรพรรดิมิญ หมั่ง (Minh Mạng) ผนวกเข้ากับเวียดนามเมื่อ ค.ศ. 1832[1]
  • Period: 192 to

    อณาจักรจามปาม

  • 266

    ราชวงศ์จิ้น

    ราชวงศ์จิ้น
    เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่ปกครองแผ่นดินจีน ซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ ค.ศ. 266 ถึง ค.ศ. 420 ถูกก่อตั้งสถาปนาโดยซือหม่าหยานหรือสุมาเอี๋ยน (เมื่อขึ้นครองราชย์ มีพระนามว่า พระเจ้าจิ้นอู่ตี้) บุตรชายคนโตของซือหม่าเจาหรือสุมาเจียว ผู้ซึ่งเคยได้รับการสถาปนาตั้งตนเป็นจิ้นอ๋องมาก่อน ราชวงศ์จิ้นมีมาก่อนยุคสมัยสามก๊ก และถูกรับช่วงต่อโดยสิบหกอาณาจักรในแผ่นดินจีนตอนเหนือ และราชวงศ์หลิวซ่งในแผ่นดินจีนตอนใต้
  • Period: 266 to 420

    ราชวงศ์จิ้น

  • 304

    ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น

    ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น
    โดยปกติน้อยครั้งที่จะเรียกว่า สิบหกรัฐ หรือ สิบหกแคว้น เป็นช่วงเวลาที่สับสนวุ่นวายในประวัติศาสตร์จีน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 304 ถึง ค.ศ. 439 เมื่อแผ่นดินจีนทางตอนเหนือได้แตกแยกออกเป็นรัฐราชวงศ์ที่มีอายุสั้น รัฐเหล่านี้ส่วนใหญ่ถูกก่อตั้งขึ้นโดย "ห้าชนเผ่า" ซึ่งเป็นชนเผ่าชาติพันธุ์ที่ไม่ใช่ชาวฮั่นที่ได้เข้ามาตั้งรกรากทางตอนเหนือและตะวันตกของจีนในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมา และได้ลุกฮือก่อการกบฎและทำการรุกรานหลายครั้งต่อราชวงศ์จิ้นตะวันตกในช่วงต้นศตวรรษที่ 4 อย่างไรก็ตาม
  • Period: 304 to 439

    ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น