Images (2)

ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น

  • 30,000 BCE

    วัฒนธรรมยุคหินเก่า

    วัฒนธรรมยุคหินเก่า
    วัฒนธรรมยุคหินเก่าประมาณ 30,000 ปีก่อน ค.ศ. เป็นหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์บนกลุ่มเกาะญี่ปุ่นครั้งแรก
    https://th.traveligo.com/travel/asia/japan/history-language-culture
  • Period: 30,000 BCE to

    ก่อตั้งราชวงศ์ญี่ปุ่น

  • 14,000 BCE

    ยุคโจมง

    ยุคโจมง
    ยุคโจมงเมื่อประมาณ 14,000 ปีก่อน ค.ศ. ที่มีวัฒนธรรมนักล่าสัตว์หาของป่ากึ่งอยู่กับที่ยุคหินกลางถึงยุคหินใหม่ ซึ่งมีลักษณะโดยการอาศัยอยู่ในหลุมและเกษตรกรรมเรียบง่าย รวมทั้งบรรพบุรุษของชาวไอนุและชาวยะมะโตะร่วมสมัยด้วย เครื่องดินเผาตกแต่งจากยุคนี้ยังเป็นตัวอย่างเครื่องดินเผาเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งที่ยังเหลือรอดในโลกด้วย
    https://th.traveligo.com/travel/asia/japan/history-language-culture
  • 14,000 BCE

    ยุคโจมงตั้งเค้า

    ยุคโจมงตั้งเค้า (14,000–7,500 ปีก่อน ค.ศ.)
    ลายปั้นแปะ
    ลายเล็บกด
    ลายเชือกทาบ
    มูโรยะล่าง
  • 7500 BCE

    ยุคโจมงเริ่มแรก

    ยุคโจมงเริ่มแรก (7,500–4,000 ปีก่อน ค.ศ.)
    โบตาซาวะ
    อิงูซะ
    อินาริได
    มิโตะ
    โนจิมะ
    ทาโดะล่าง
    ทาโดะบน
    ชิโบงูจิ
    คายามะ
    อูงาชิมะ
  • 5000 BCE

    ยุคโจมงตอนต้น

    ยุคโจมงตอนต้น (5,000–3,520 ปีก่อน ค.ศ.)
    โกเรียวงาได
    จูซัมโบได
    คิตะ-ชิรากาวะ
    โมโรอิโซะ
    โอกิตสึ
    อูกิชิมะ
  • 3520 BCE

    ยุคโจมงตอนกลาง

    ยุคโจมงตอนกลาง (3,520–2,470 ปีก่อน ค.ศ.)
    คาโซริ อี
    คัตสึซากะ
    โอตามาได
  • 2470 BCE

    ยุคโจตอนปลาย

    ยุคโจตอนปลาย (2,470–1,250 ปีก่อน ค.ศ.)
    โฮริโนอูจิ
    คาโซริ บี
  • 1250 BCE

    ยุคโจมงท้ายสุด

    ยุคโจมงท้ายสุด (1,250–500 ปีก่อน ค.ศ.)
    อังเงียว
    ฟูเซ็มมง
    โฮกูริกูบันกิ
    คาเมงาโอกะ
    มาเออูระ
    นางาตาเกะ
    นิชิฮมมาเก็ง
    นูซาไม
    ชิโมโนะ
  • 660 BCE

    กำเนิดราชวงศ์ญี่ปุ่น

    กำเนิดราชวงศ์ญี่ปุ่น
    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 660 ปีก่อนคริสตกาลถือเป็นวันสถาปนาประเทศญี่ปุ่นตามประเพณี เป็นวันที่เผ่ายามาโตะภายใต้การนำของจักรพรรดิจิมมุ ได้พิชิตเผ่าโยโยอิซึ่งเป็นเผ่าพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคคันไซ พร้อมทั้งสถาปนาประเทศญี่ปุ่นขึ้นมาอย่างเป็นทางการ จวบจนปัจจุบันญี่ปุ่นเองก็ยังใช้วันนี้ในฐานะวันสถาปนาชาติ
    https://www.mcot.net/view/fntNeUJW
  • 581 BCE

    จักรพรรดิซูอิเซ

    จักรพรรดิซูอิเซ
    จักรพรรดิซูอิเซ (ญี่ปุ่น: 綏靖天皇; โรมาจิ: Suizei-tennō)พระนาม คามุ นูนางาวามิมิ โนะ มิโกโตะ เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่สองของญี่ปุ่นตามธรรมเนียมลำดับสันตติวงศ์จักรพรรดิองค์นี้ไม่ค่อยมีใครรู้จักเนื่องจากขาดการตรวจสอบและศึกษาเพิ่มเติม จักรพรรดิซูอิเซเป็นที่รู้จักในฐานะจักรพรรดิในตำนาน เกิดข้อโต้แย้งในหมู่นักประวัติศาสตร์ถึงการมีอยู่จริงของพระองค์
  • 549 BCE

    จักรพรรดิอันเน

    จักรพรรดิอันเน
    จักรพรรดิอันเน (安寧天皇) หรือเรียกอีกพระนามว่าชิกิตสึฮิโกตามาเตมิ โนะ มิโกโตะ เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่สามของญี่ปุ่น[3] ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น[4] ไม่ค่อยมีใครรู้จักเกี่ยวกับจักรพรรดิองค์นี้มากนักเนื่องจากขาดหลักฐานสำหรับการตรวจสอบและศึกษาเพิ่มเติม
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%99
  • 510 BCE

    จักรพรรดิอิโตกุ

    จักรพรรดิอิโตกุ
    จักรพรรดิอิโตกุ (ญี่ปุ่น: 懿徳天皇; โรมาจิ: Itoku-tennō) หรือ โอโฮะ ยามาโตฮิโกะ ซูกิโตโมะ โนะ มิโกโตะ เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 4 ของญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิอิโตกุครองสิริราชสมบัติระหว่าง 510 ปีก่อนคริสตกาล - 477 ปีก่อนคริสตกาล
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%B8
  • 500 BCE

    ยุคยาโยอิ

    ยุคยาโยอิ
    ยุคยาโยอิซึ่งเริ่มตั้งแต่ประมาณ 500 ปีก่อน ค.ศ. มีการริเริ่มการปฏิวัติอย่างการทำนาข้าวเปียกเครื่องดินเผาแบบใหม่ และโลหะวิทยาที่รับมาจากจีนและเกาหลี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99
  • 475 BCE

    จักรพรรดิโคโช

    จักรพรรดิโคโช
    จักรพรรดิโคโช (ญี่ปุ่น: 孝昭天皇; โรมาจิ: Kōshō-tennō) มีอีกพระนามว่า มิมัตสึฮิโกกาเอชิเนะ โนะ มิโกโตะป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นในตำนานองค์ที่ 5 ตามลำดับการสืบราชบัลลังก์[3][4] มีข้อมูลเกี่ยวกับพระองค์น้อยมากเนื่องจากไม่มีข้อมูลไว้ตรวจสอบและศึกษาเพิ่มเติม นักประวัติศาสตร์รู้จักโคโชในฐานะ "จักรพรรดิในตำนาน" เนื่องด้วยข้อพิพาทการมีตัวตนของพระองค์ โดยในโคจิกิไม่มีข้อมูลใดเลยนอกจากพระนามและพงศาวลี มีการอ้างว่าโคโชเริ่มต้นครองราชย์ใน 475 ปีก่อน ค.ศ.
  • 392 BCE

    จักรพรรดิโคอังขึ้นสืบราชบัลลังก์

    จักรพรรดิโคอังขึ้นสืบราชบัลลังก์
    จักรพรรดิโคอังขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อ 392 ปีก่อนคริสตกาล(พ.ศ 151) ภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของจักรพรรดิโคโช จักรพรรดิองค์ที่ 6 พระราชบิดาหลังจากนั้นไม่นานได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกที่พระราชวังหลวงเมืองนาระ
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87
  • 392 BCE

    จักรพรรดิโคอัง

    จักรพรรดิโคอัง
    จักรพรรดิโคอัง (ญี่ปุ่น: 孝安天皇; โรมาจิ: Kōan-tennō) หรือ โอโฮะ ยามาโตะ ทาราชิฮิโกะ คุนิโอชิ ฮิโตะ โนะ มิโกโตะ เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 392 ปีก่อนคริสตกาล – 291 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 151-พ.ศ. 252) จักรพรรดิโคอังถูกจัดเป็นหนึ่งในเก้าจักรพรรดิในตำนานเนื่องจากเรื่องราวของพระองค์มีน้อยมากแทบจะไม่มีหลงเหลือ
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87
  • 300 BCE

    ยุคยะโยอิ

    ยุคยะโยอิ
    ยุคยะโยอิ เริ่มเมื่อประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นยุคที่ผู้คนเริ่มเรียนรู้วิธีการปลูกข้าว การตีโลหะ ซึ่งได้รับความรู้มาจากผู้อพยพชาวจีนแผ่นดินใหญ่
    https://www.wonderfulpackage.com/article/v/105/
  • 300 BCE

    ชาวยะโยะอิเริ่มเข้าสู่หมู่เกาะญี่ปุ่น

    ประมาณ 300 ปีก่อน ค.ศ. ชาวยะโยะอิเริ่มเข้าสู่หมู่เกาะญี่ปุ่น ผสมผสานกับโจมอน
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99
  • 290 BCE

    จักรพรรดิโคเร

    จักรพรรดิโคเร
    จักรพรรดิโคเร (ญี่ปุ่น: 孝霊天皇; โรมาจิ: Kōrei-tennō) มีอีกพระนามแล้ว โอยามาโตะเนโกฮิโกะฟูโตนิ โนะ ซูเมรามิโกโตะเป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นในตำนานองค์ที่7ตามลำดับการสืบราชบัลลังก์[3][4] มีข้อมูลเกี่ยวกับจักรพรรดิองค์น้อยมากเนื่องจากขาดเอกสารสำหรับการตรวจสอบและศึกษาเพิ่มเติม ทำให้นักประวัติศาสตร์รู้จักพระองค์ในฐานะ "จักรพรดริในตำนาน" เนื่องจากข้อพิพาทเรื่องการมีตัวตน ในโคจิกิไม่มีข้อมุลใดเลยนอกจากพระนามและพระราชพงศาวลี มีการอ้างว่ารัชสมัยของโคเรเริ่มต้นใน 290 ปีก่อน ค.ศ. หลังพระองค์สวรรคตใน 215 ปีก่อน ค.ศ.
  • 252 BCE

    จักรพรรดิโคอังเสด็จสวรรคต

    จักรพรรดิโคอังเสด็จสวรรคต
    จักรพรรดิโคอังเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 เมษายน 291 ปีก่อนคริสตกาล(พ.ศ 252) โดย จักรพรรดิโคเร ได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์ต่อมา
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87
  • 215 BCE

    จักรพรรดิโคเง็ง

    จักรพรรดิโคเง็ง
    จักรพรรดิโคเง็ง (ญี่ปุ่น: 孝元天皇; โรมาจิ: Kōgen-tennō) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาล – 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาล
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B9%87%E0%B8%87
  • 215 BCE

    จักรพรรดิโคเง็ง

    จักรพรรดิโคเง็ง
    จักรพรรดิโคเง็งเสด็จขึ้นสืบราชบัลลังก์เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 215 ปีก่อนคริสตกาลภายหลังการเสด็จสวรรคตของ จักรพรรดิโคเร โดยได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกขึ้นเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 214 ปีก่อนคริสตกาล
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B9%87%E0%B8%87
  • 158 BCE

    จักรพรรดิโคเง็งเสด็จสวรรคต

    จักรพรรดิโคเง็งเสด็จสวรรคต
    จักรพรรดิโคเง็งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 158 ปีก่อนคริสตกาลที่พระราชวังหลวงนาระหลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 57 ปี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B9%87%E0%B8%87
  • 158 BCE

    จักรพรรดิไคกะ

    จักรพรรดิไคกะ
    จักรพรรดิไคกะ(ญี่ปุ่น: 開化天皇; โรมาจิ: มีพระนามในโคจิกิว่า วากายามาโตะ เนโกฮิโกะ โอบิบิ โนะ มิโกโตะ เป็จักรพรรดิญี่ปุ่นในตำนานองค์ที่ 9 ตามลำดับการสืบทอด โดยในโคจิกิไม่มีข้อมูลใดเลยนอกจากพระนามและพงศาวลีของพระองค์ มีการอ้างว่ารัชสมัยของไคกะเริ่มต้นใน 158 ปีก่อน ค.ศ. หลังสวรรคตใน 98 ปีก่อน ค.ศ. พระราชโอรสองค์หนึ่งขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิซูจิง
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%84%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B0
  • 97 BCE

    จักรพรรดิซูจิง

    จักรพรรดิซูจิง
    จักรพรรดิซูจิง (ญี่ปุ่น: 崇神天皇; โรมาจิ: Sujin-tennō) มีพระนามในโคจิกิว่า มิมากิอิริฮิโกอินิเอะ โนะ มิโกโตะเป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 10[4][5] ในขณะที่ซูจิงเป็นจักรพรรดิองค์แรกที่นักประวัติศาสตร์ยอมรับอย่างกว้างขวางว่ามีตัวตนจริง พระองค์ยังได้รับการกล่าวถึงเป็น "จักรพรรดิในตำนาน" เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ และระยะเวลาครองราชย์มีหลากหลายแบบ
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%87
  • 57 BCE

    ซึ่งเรียกชาวญี่ปุ่นว่า

    57 ก่อนคริสตกาล ซึ่งเรียกชาวญี่ปุ่นว่า วะ (倭) ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 8 อาณาจักรที่ทรงอำนาจมากที่สุดในญี่ปุ่นคือยะมะไทโคะกุ (邪馬台国) ปกครองโดยราชินีฮิมิโกะ ซึ่งเคยส่งคณะทูตไปยังประเทศจีนผ่านทางเกาหลีด้วย
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-hant/%E5%80%AD%E5%9B%BD
  • 29 BCE

    จักรพรรดิซูอินิง

    จักรพรรดิซูอินิง
    จักรพรรดิซูอินิง (ญี่ปุ่น: 垂仁天皇; โรมาจิ: Suinin-tennō) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 9 มกราคม 29 ปีก่อนคริสตกาล – 8 สิงหาคม ค.ศ. 70 (พ.ศ. 514 - พ.ศ. 613)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%87
  • 1 CE

    การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก

    การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรก
    การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 (บันทึกทางประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ฮั่น) ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่น ภาษา การปกครอง และ วัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99
  • 1 CE

    ยามาไตโคกุ

    ยามาไตโคกุ หรือ ยามาไต (ญี่ปุ่น: 邪馬台国; ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 1 – ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 3) เป็นชื่อภาษาจีน-ญี่ปุ่นของประเทศโบราณในวะ เมื่อยุคยาโยอิตอนปลาย (ประมาณ 1,000 ปีก่อน ค.ศ. – ประมาณ ค.ศ. 300)
    https://ja.m.wikipedia.org/wiki/%E9%82%AA%E9%A6%AC%E5%8F%B0%E5%9B%BD
  • 3

    การเผยแผ่ศาสนาพุทธ เข้าประเทศญี่ปุ่น

    การเผยแผ่ศาสนาพุทธ เข้าประเทศญี่ปุ่น
    คริสต์ศตวรรษที่ 3 เรียก ยามาไตโกกุ มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธ เข้าประเทศญี่ปุ่นจากอาณาจักรแพ็กเจ (เกาหลีปัจจุบัน)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99
  • 7

    เมืองหลวงของยามาไตโคกุคือยามาโตะ

    แคว้นยามาโตะ (ญี่ปุ่น: 大和国; โรมาจิ: Yamato no Kuni) เป็นแคว้นในอดีตของประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะเกาะฮนชูในปัจจุบันคือจังหวัดนาระ
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-hans/%E5%A4%A7%E5%92%8C%E5%9C%8B
  • 57

    เครื่องบรรณาการ

    ใน ค.ศ. 57 เจ้าเมืองแผ่นดินวา ได้รับตราประจำตำแหน่งทำด้วยทอง เขียนไว้ว่า “เจ้าเมืองแผ่นดินวาของฮั่น” หลังจากส่งเครื่องบรรณาการให้แก่ฮ่องเต้เมืองฮั่น
  • 70

    จักรพรรดิเคโก

    จักรพรรดิเคโก
    จักรพรรดิเคโก (ญี่ปุ่น: 景行天皇; โรมาจิ: 'Keikō-tennō') จักรพรรดิองค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 สิงหาคม ค.ศ. 70 – 24 ธันวาคม ค.ศ. 130
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%81
  • 130

    จักรพรรดิเซมุ

    จักรพรรดิเซมุ
    จักรพรรดิเซมุ (ญี่ปุ่น: 成務天皇; โรมาจิ: Seimu-tennō) จักรพรรดิองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 24 ธันวาคม ค.ศ. 130 – 30 กันยายน ค.ศ. 191 (พ.ศ. 673-พ.ศ. 734)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%A1%E0%B8%B8
  • 170

    ฮิมิโกะกษัตริย์แห่งวะ

    ฮิมิโกะกษัตริย์แห่งวะ
    ฮิมิโกะ (卑弥呼ひみこ; Himiko; ประสูติ ป. ค.ศ. 170–248) หรือ ชิงงิวาโอ (親魏倭王; "กษัตริย์แห่งวะ", "สหายแห่งเวย์")[1][a][b] เป็นคนทรงและราชินีแห่งยามาไตโคกุในวาโกกุ (倭国) ชุดพงศาวดารจีนตอนต้นบันทึกความสัมพันธ์เชิงเครื่องบรรณาการระหว่างราชินีฮิมิโกะและอาณาจักรเวย์ (ค.ศ. 200–265) และบันทึกว่า ชาวยาโยอิเลือกเธอเป็นผู้ปกครองหลังการสงครามกว่าทศวรรษระหว่างกษัตริย์แห่งวะ
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-hans/%E5%8D%91%E5%BC%A5%E5%91%BC
  • 191

    เมื่อจักรพรรดิเซมุผู้เป็นพระปิตุลา (อา) เสด็จสวรรคต

    เมื่อจักรพรรดิเซมุผู้เป็นพระปิตุลา (อา) เสด็จสวรรคต
    เมื่อจักรพรรดิเซมุผู้เป็นพระปิตุลา (อา) เสด็จสวรรคตที่พระราชวังหลวงนะระเมื่อ ค.ศ. 191 (พ.ศ. 734) สายราชสกุลของจักรพรรดิเซมุจึงสิ้นสุดลงราชบัลลังก์จึงตกมาอยู่ที่พระโอรสของเจ้าชายโอซุผู้เป็นพระราชนัดดาซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิชูไอ
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B9%84%E0%B8%AD
  • 192

    จักรพรรดิชูไอ

    จักรพรรดิชูไอ
    จักรพรรดิชูไอ (ญี่ปุ่น: 仲哀天皇; โรมาจิ: Chūai-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 14 ของญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 192 – 8 มีนาคม ค.ศ. 200 (พ.ศ. 735 - พ.ศ. 743)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B9%84%E0%B8%AD
  • 200

    จักรพรรดินีจิงงู(โดยพฤตินัย)

    จักรพรรดินีจิงงู(โดยพฤตินัย)
    จักรพรรดินีจิงงู (ญี่ปุ่น: 神功皇后; โรมาจิ: Jingū-kōgō[b] เป็นจักรพรรดินีในตำนานของญี่ปุ่น ซึ่งปกครองในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ภายหลังการสวรรคตของพระสวามีในปี ค.ศ. 200โดยไม่มีรัชทายาท ทำให้จักรพรรดินีจิงงู ซึ่งขณะนั้นกำลังทรงพระครรภ์อยู่ ขึ้นว่าราชการแทนในตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินไปจนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 269
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B9
  • 200

    จักรพรรดิชูไอเสด็จสวรรคต

    จักรพรรดิชูไอเสด็จสวรรคต
    จักรพรรดิชูไอเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 200 (พ.ศ. 743) ทำให้จักรพรรดินีจิงงุ จักรพรรดินีในอดีตจักรพรรดิชูไอซึ่งขณะนั้นกำลังทรงพระครรภ์พระราชโอรสองค์เดียวของอดีตจักรพรรดิชูไอที่ต่อมาคือ จักรพรรดิโอจิง จักรพรรดิองค์ที่ 15 ต้องเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินอยู่นานถึง 68 ปี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B9%E0%B9%84%E0%B8%AD
  • 201

    ราชมารดาจึงขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน

    ราชมารดาจึงขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน
    เมื่อจักรพรรดิชูไอผู้เป็นพระราชบิดาเสด็จสวรรคตใน ค.ศ. 201 (พ.ศ. 744) จักรพรรดินีจิงงุผู้เป็นพระราชมารดาจึงขึ้นเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเนื่องจากจักรพรรดิโอจิงยังไม่ประสูติ
    จนกระทั่งจักรพรรดินีจิงงุสิ้นพระชนม์ในวันที่ 17 เดือน 4 ปีจิงงุที่ 69 ตรงกับวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 269 (พ.ศ. 812)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%87
  • 235

    โทโยะ

    โทโยะ (ญี่ปุ่น: 臺與/台与; โรมาจิ: Toyo) หรือ อิโยะ (壹與/壱与, Iyo; ค.ศ. 235–?) เป็นราชินีผู้ครองราชย์ในยามาไคโคกุของญี่ปุ้น และเป็นผู้สืบทอดของราชินีฮิมิโกะ ตามบันทึกใน "บันทึกเว่ย์" และแหล่งข้อมูลดั้งเดิมอื่น ๆนักประวัติศาสตร์บางส่วนเชื่อว่าเธอเป็นพระราชมารดาของจักรพรรดิซูจิง
    https://zh.m.wikipedia.org/zh-hant/%E8%87%BA%E8%88%87
  • 239

    ส่งเครื่องบรรณาการไปยังเมืองเว่ย

    ใน ค.ศ. 239 พระนางฮิมิโกะ ผู้ครองอาณาจักรยามาไท ส่งเครื่องบรรณาการไปยังเมืองเว่ย หรือในไทยรู้จักกันในชื่อวุยก๊ก ของจีน
  • 270

    จักรพรรดิโอจิง

    จักรพรรดิโอจิง
    จักรพรรดิโอจิง (ญี่ปุ่น: 応神天皇; โรมาจิ: Ōjin-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 15 ของญี่ปุ่นตามแบบแผนสืบราชสันตติวงศ์
  • 310

    จักรพรรดินินโตกุ

    จักรพรรดินินโตกุ
    จักรพรรดินินโตกุ (ญี่ปุ่น: 仁徳天皇; โรมาจิ: Nintoku-tennō) จักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 16 ของญี่ปุ่นตามระเบียบประเพณีของการสืบราชบัลลังก์
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%B8
  • 400

    จักรพรรดิริจู

    จักรพรรดิริจู
    จักรพรรดิริจู (ญี่ปุ่น: 履中天皇; โรมาจิ: Richū-tennō) มีอีกพระนามว่า โอเอโนอิซาโฮวาเกะ โนะ ซูเมรามิโกโตะ (ญี่ปุ่น: 大兄去来穂別尊; โรมาจิ: Ōenoizahowake no Mikoto) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 17 ของญี่ปุ่นตามลำกับการสืบทอดแบบดั้งเดิม
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B9
  • 405

    จักรพรรดิฮันเซ

    จักรพรรดิฮันเซ
    จักรพรรดิฮันเซ (อังกฤษ: Emperor Hanzei,ญี่ปุ่น: 反正天皇; โรมาจิ: Hanzei-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 18 ของญี่ปุ่นครองสิริราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 405 – 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 410 (พ.ศ. 948 - พ.ศ. 953)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8B
  • 410

    จักรพรรดิอิงเงียว

    จักรพรรดิอิงเงียว
    จักรพรรดิอิงเงียว (ญี่ปุ่น: 允恭天皇; โรมาจิ: Ingyō-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 19 ของญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 410 – 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 453 (พ.ศ. 953 - พ.ศ. 996)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7
  • 453

    จักรพรรดิอังโก

    จักรพรรดิอังโก
    จักรพรรดิอังโก (อังกฤษ: Emperor Ankō ญี่ปุ่น: 安康天皇; โรมาจิ: Ankō-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 20 ของญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 453 – 24 กันยายน ค.ศ. 456 (พ.ศ. 996 - พ.ศ. 999)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%81
  • 453

    จักรพรรดิอังโกได้ทำสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์

    จักรพรรดิอังโกได้ทำสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์
    จักรพรรดิอังโกได้ทำสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์กับ เจ้าชายคินะชิ ผู้เป็นพระเชษฐาร่วมพระมารดาจนได้รับชัยชนะเมื่อ ค.ศ. 453 (พ.ศ. 996) และได้มีการประกอบพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 454 (พ.ศ. 997) แต่หลังจากครองสิริราชสมบัติได้ 3 ปีจักรพรรดิอังโกก็ถูกปลงพระชนม์โดย เจ้าชายมะโยะวะ เมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 456 (พ.ศ. 999)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%81
  • 456

    สมเด็จพระจักรพรรดิยูเรียกุ

    สมเด็จพระจักรพรรดิยูเรียกุ
    สมเด็จพระจักรพรรดิยูเรียกุ (อังกฤษ: Emperor Yūryaku ญี่ปุ่น: 雄略天皇; โรมาจิ: Yūryaku-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 21 ของญี่ปุ่น ตามลำดับการสืบราชสันตติวงศ์พระองค์ถูกจดจำในฐานะผู้อุปถัมภ์ การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B8
  • 458

    จักรพรรดิเคไต

    จักรพรรดิเคไต
    จักรพรรดิเคไต (ญี่ปุ่น: 継体天皇; โรมาจิ: Keitai-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 26 ของญี่ปุ่น อ้างอิงจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามประเพณี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B9%84%E0%B8%95
  • 458

    เริ่มต้นราชวงศ์ที่ 2

    เริ่มต้นราชวงศ์ที่ 2
    จักรพรรดิเคไตพระองค์นับเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ที่ 2 เนื่องจากพระองค์มิได้สืบเชื้อสายจาก จักรพรรดิบูเร็ตสึ ซึ่งเป็นจักรพรรดิองค์ก่อนแต่พระองค์เป็นสายพระโลหิตรุ่นที่ 5 ของ จักรพรรดิโอจิง จักรพรรดิองค์ที่ 15
  • 466

    จักรพรรดิเซ็งกะ

    จักรพรรดิเซ็งกะ (ญี่ปุ่น: 宣化天皇; โรมาจิ: Senka-tennō; ค.ศ. 466 — 15 มีนาคม ค.ศ. 539) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 28 ของญี่ปุ่นตามลำดับการสืบทอด
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B0
  • 466

    จักรพรรดิอังกัง

    จักรพรรดิอังกัง (ญี่ปุ่น: 安閑天皇; โรมาจิ: Ankan-tennō; ค.ศ. 466 — 25 มกราคม ค.ศ. 536) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 27 ของญี่ปุ่นอ้างอิงจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามประเพณี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87
  • 479

    จักรพรรดิเซเน

    จักรพรรดิเซเน
    จักรพรรดิเซเน (อังกฤษ: Emperor Seinei ญี่ปุ่น: 清寧天皇; โรมาจิ: Seinei-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 22 ของญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง 8 กันยายน ค.ศ. 479 – 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 484 (พ.ศ. 1022 - พ.ศ. 1027)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%99
  • 484

    จักรพรรดิเค็นโซ

    จักรพรรดิเค็นโซ
    จักรพรรดิเค็นโซ (อังกฤษ: Emperor Kenzō ญี่ปุ่น: 顕宗天皇; โรมาจิ: Kenzō-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 23 ของญี่ปุ่น ครองสิริราชสมบัติระหว่าง 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 484 – 2 มิถุนายน ค.ศ. 487 (พ.ศ. 1027 - พ.ศ. 1030)
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B8
  • 487

    จักรพรรดินิงเก็ง

    จักรพรรดินิงเก็ง
    จักรพรรดินิงเก็ง (อังกฤษ: Emperor Ninken ญี่ปุ่น: 仁賢天皇; โรมาจิ: Ninken-tennō) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 24 ของญี่ปุ่นอ้างอิงจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามประเพณี
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%87
  • 489

    จักรพรรดิบูเร็ตสึ

    จักรพรรดิบูเร็ตสึ (ญี่ปุ่น: 武烈天皇; โรมาจิ: Buretsu-tennō; ค.ศ. 489 — 7 มกราคม ค.ศ. 507) เป็นจักรพรรดิในตำนานองค์ที่ 25 ของญี่ปุ่น[1] อ้างอิงจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามประเพณี[
  • 507

    จักรพรรดิบุเระสึเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน

    จักรพรรดิบุเระสึเสด็จสวรรคตอย่างกะทันหันเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 507 (พ.ศ. 1050) โดยไร้รัชทายาททำให้สายราชสกุลของจักรพรรดินิงเก็งรวมถึงราชวงศ์แรกที่ปกครองญี่ปุ่นมาตั้งแต่ 660 ปีก่อนคริสตกาล สิ้นสุดลงโดย โอโตโมะ โนะ คานามูระ ขุนนางผู้ใหญ่ในราชสำนักได้ยกเจ้าชายฮิโกฟูโตะพระชนมายุ 57 พรรษาขึ้นสืบราชบัลลังก์ทันทีเป็น จักรพรรดิเคไต อันเป็นจุดเริ่มต้นของราชวงศ์ที่ 2
  • 509

    จักรพรรดิคิมเม

    จักรพรรดิคิมเม
    จักรพรรดิคิมเม (ญี่ปุ่น: 欽明天皇; โรมาจิ: Kinmei-tennō; ค.ศ. 509–571) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์ที่ 29ตามลำดับการสืบทอดกล่าวกันว่ารัชสมัยของพระองค์อยู่ในช่วง ค.ศ. 539 ถึง 571 นักประวัติศาสตร์บางคนถือว่าคิมเมเป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นองค์แรกที่ที่ได้รับการยืนยันทางประวัติศาสตร์ที่ตรวจสอบได้
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A1
  • 518

    จักรพรรดิโยเม

    จักรพรรดิโยเม
    จักรพรรดิโยเม (ญี่ปุ่น: 用明天皇; โรมาจิ: Yōmei tennō) (พ.ศ. 1061 - พ.ศ. 1130) เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นรัชกาลที่ 31ตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น
  • 538

    ยุคอาซูกะ

    ยุคอาซูกะ
    ระยะเวลาของ ยุคอาซูกะ (ญี่ปุ่น: 飛鳥時代; โรมาจิ: Asuka-jidai) อยู่ในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นในช่วง ค.ศ. 538–710 ราชอาณาจักรมากมายตั้งในพื้นที่นี้ในช่วงเวลานี้ ระยะเวลาของยุคอาซูกะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน สังคม และการเปลี่ยนรูปการเมืองน้อย
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%B0
  • 554

    จักรพรรดินีซูอิโกะ

    จักรพรรดินีซูอิโกะ
    จักรพรรดินีซูอิโกะ (ญี่ปุ่น: 推古天皇; โรมาจิ: Suiko-tennō; อังกฤษ: Empress Suiko; 554 – 15 เมษายน 628) เป็นพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นองค์ที่ 33ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์แต่โบราณพระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 593 จนสวรรคตเมื่อปี 628
  • 572

    จักรพรรดิบิดัตสึ

    จักรพรรดิบิดัตสึ (敏達天皇) (พ.ศ. 1115 – พ.ศ. 1128) จักรพรรดิองค์ที่ 30 ของประเทศญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ในรายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น
  • 574

    เจ้าชายโชโตกุ

    เจ้าชายโชโตกุ
    เจ้าชายโชโตกุ (ญี่ปุ่น: 聖徳太子; โรมาจิ: Shōtoku Taishi; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 574 – 8 เมษายน ค.ศ. 622)[1] รู้จักกันในพระนาม เจ้าชายอูมายาโดะ (หรือ เจ้าชายคามิตสึยะ เป็นผู้สำเร็จราชการและนักการเมืองกึ่งตำนานในประเทศญี่ปุ่นยุคอาซูกะที่รับใช้จักรพรรดินีซูอิโกะ หลักฐานสำคัญที่ใช้อ้างอิงพระประวัติและพระกรณียกิจนั้นมาจากพงศาวดารญี่ปุ่นนาม นิฮงโชกิ
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%8A%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%B8
  • 661

    จักรพรรดินีเก็นโช

    จักรพรรดินีเก็นโช
    จักรพรรดินีเก็นโช (ญี่ปุ่น: 元正天皇, 661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 44 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของจักรพรรดินีเก็มเม กับ เจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางมิได้อภิเษกสมรส พระนางครองราชย์เมื่อ 3 ตุลาคม ค.ศ. 715 ต่อจากจักรพรรดินีเก็มเม พระราชมารดา และผู้ที่มาครองราชย์ต่อจากพระนางคือจักรพรรดิโชมุ
  • 661

    จักรพรรดินีเก็มเม

    จักรพรรดินีเก็มเม
    จักรพรรดินีเก็มเม (661 – 29 ธันวาคม 721) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 43 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางเป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเท็นจิ พระนางอภิเษกสมรสกับเจ้าชายคุซะกะเบะโนะมิโกะ พระนางครองราชย์เมื่อ 18 สิงหาคม ค.ศ. 707 ต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิมมมุ และผู้ที่มาครองราชย์ต่อจากพระนางคือจักรพรรดินีเก็นโช
  • 697

    ึจักรพรรดิมมมุ

    ึจักรพรรดิมมมุ
    จักรพรรดิมมมุ (ญี่ปุ่น: 文武天皇; โรมาจิ: Monmu-tennō) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 42 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น อ้างอิงจากการสืบราชสันตติวงศ์ตามประเพณี
  • 697

    จักรพรรดินีสละราชบัลลังก์

    22 สิงหาคม พ.ศ. 1240 (วันที่ 1 เดือน 8 ปีมมมุ): ในปีที่ 10 ของรัชสมัยจักรพรรดินีจิโต (持統天皇十年) จักรพรรดินีสละราชบัลลังก์ และได้รับการสืบทอดตำแหน่งโดยพระราชนัดดาของ จักรพรรดิเท็มมุ หลังจากนั้นไม่นาน จักรพรรดิมมมุได้ขึ้นเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ
  • 707

    จักรพรรดิมมมุเสด็จสวรรคต

    จักรพรรดิมมมุปกครองจนเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 1250 เมื่อถึงจุดนั้นพระองค์ก็ถูกสืบทอดตำแหน่งโดยพระราชมารดาของพระองค์ จักรพรรดินีเก็มเม
  • 710

    ยุคนาระ

    ยุคนาระ
    ยุคนาระ (ญี่ปุ่น: 奈良時代; โรมาจิ: Nara-jidai; ทับศัพท์: นาระจิได) (ค.ศ. 710 – 794) เมื่อปี ค.ศ. 710 ขณะที่บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองด้วยหลักกฎหมายและจริยธรรมก็ได้ย้ายเมืองหลวงมาที่เฮโจเกียวหรือเมืองนาระและบริเวณใกล้เคียงในปัจจุบัน แต่ในเวลาต่อมาก็เริ่มเกิดความวุ่นวายเมื่อระบบโคจิโกมิง (公地公民制 Kōchi-kōmin-sei: ระบบที่รัฐบาลกลางครอบครองที่ดินทั้งหมดและปันส่วนให้กับขุนนางและชาวนา โดยที่ชาวนาต้องเสียภาษีที่ดิน) เสื่อมลงเนื่องจากมีที่ดินที่ได้รับยกเว้นภาษี อยู่เป็นจำนวนมาก
  • 735

    การระบาดของโรคฝีดาษ

    การระบาดของโรคฝีดาษในปี พ.ศ. 1278–1280 เชื่อว่าฆ่าประชากรญี่ปุ่นไปมากถึงหนึ่งในสาม[60] ใน พ.ศ. 1327 จักรพรรดิคัมมุย้ายเมืองหลวงจากนาระไปนางาโอกะเกียว และเฮอังเกียว (นครเกียวโตปัจจุบัน) ใน พ.ศ. 1337
  • 794

    ยุคเฮอัง

    นับเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเฮอัง (พ.ศ. 1337–1728) ซึ่งวัฒนธรรมญี่ปุ่นเฉพาะถิ่นชัดเจนกำเนิด โดยที่เห็นได้ชัดที่สุดคือ ศิลปะ กวีและร้อยแก้ว ตำนานเก็นจิของมูราซากิ ชิกิบุ และ "คิมิงาโยะ" เนื้อร้องเพลงชาติประเทศญี่ปุ่นปัจจุบัน ก็มีการเขียนขึ้นในช่วงนี้
  • 1180

    สงครามเก็มเป

    สงครามเก็มเป
    สงครามเก็มเป (ญี่ปุ่น: 源平合戦; โรมาจิ: Genpei kassen, Genpei gassen; ค.ศ. 1180-1185) เป็นสงครามกลางเมืองระดับชาติ[1]ระหว่างตระกูลไทระกับตระกูลมินาโมโตะในช่วงยุคเฮอังตอนปลายของญี่ปุ่น จากสงครามครั้งนี้ทำให้ตระกูลไทระพ่ายแพ้และต้องสูญสิ้นอำนาจ และสถาปนารัฐบาลโชกุนคามากูระภายใต้การนำของมินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ ผู้แต่งตั้งตนเองเป็น โชกุน ใน ค.ศ. 1192 ปกครองญี่ปุ่นในฐานะเผด็จการทหารจากนครฝั่งตะวันออกของคามากูระ
  • 1185

    ยุคคามากูระ

    ในยุคคามากูระ (พ.ศ. 1728–1876) และได้รับความนิยมในชนชั้นซามูไร รัฐบาลโชกุนคามากูระขับไล่การบุกครองของมองโกลสองครั้งใน พ.ศ. 1817 และ 1824 แต่สุดท้ายถูกจักรพรรดิโกะ-ไดโงะโค่นล้ม ส่วนจักรพรรดิโกะ-ไดโงะก็ถูกอาชิกางะ ทากาอูจิพิชิตอีกทอดหนึ่งใน พ.ศ. 1879
  • 1185

    รัฐบาลโชกุนคามากูระ

    รัฐบาลโชกุนคามากูระ (ญี่ปุ่น: 鎌倉幕府; โรมาจิ: Kamakura bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยทหารในญี่ปุ่น อันมีประมุขของรัฐบาลคือโชกุน ตั้งแต่ ค.ศ. 1185 (หรือ 1192 อย่างเป็นทางการ) ถึง ค.ศ. 1333 ซึ่งมีเมืองหลวงอยู่ที่คามากูระ
  • 1238

    ยุคเจ้าขุนมูลนาย

    ยุคเจ้าขุนมูลนาย หรือ ยุคศักดินาของญี่ปุ่นมีลักษณะจากการถือกำเนิดและการครอบงำของชนชั้นนักรบซามูไร ใน พ.ศ. 1728 จักรพรรดิโกะ-โทบะทรงแต่งตั้งซามูไร มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ เป็นโชกุน หลังพิชิตตระกูลไทระในสงครามเก็มเป โยริโตโมะตั้งฐานอำนาจในคามากูระ หลังเขาเสียชีวิต ตระกูลโฮโจเถลิงอำนาจเป็นผู้สำเร็จราชการให้โชกุน มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธสำนักเซนจากจีนในยุคคามากูระ (พ.ศ. 1728–1876)
  • 1336

    คมูโรมาจิ

    อาชิกางะ ทากาอูจิตั้งรัฐบาลโชกุนในมูโรมาจิ จังหวัดเกียวโต เป็นจุดเริ่มต้นของยุคมูโรมาจิ (พ.ศ. 1879–2116) รัฐบาลโชกุนอาชิกางะรุ่งเรืองในสมัยของอาชิกางะ โยชิมิตสึ และวัฒนธรรมที่ตั้งอยู่บนศาสนาพุทธแบบเซ็น (ศิลปะมิยาบิ) แพร่กระจาย ต่อมาศิลปะมิยาบิวิวัฒน์เป็นวัฒนธรรมฮิงาชิยามะ และเจริญจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 21–22)
  • 1338

    รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ

    รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ (ญี่ปุ่น: 足利幕府; โรมาจิ: Ashikaga bakufu) หรือที่มักรู้จักในชื่อ รัฐบาลโชกุนมูโรมาจิ (ญี่ปุ่น: 室町幕府; โรมาจิ: Muromachi bakufu) เป็นระบอบการปกครองโดยกลุ่มทหารในญี่ปุ่นระหว่างปี ค.ศ. 1338-1573 ซึ่งมีโชกุนจากตระกูลอาชิกางะ เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล
  • 1467

    สงครามโอนิง

    รัฐบาลโชกุนอาชิกางะสมัยต่อมาไม่สามารถควบคุมขุนศึกเจ้าขุนมูลนาย (ไดเมียว) ได้ และเกิดสงครามกลางเมือง (สงครามโอนิง) ใน พ.ศ. 2010 เปิดฉากยุคเซ็งโงกุ ("รณรัฐ") ยาวนานนับศตวรรษ
  • 1573

    พ่อค้าและมิชชันนารีคณะเยสุอิตจากประเทศโปรตุเกสเดินทางถึงญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก

    คริสต์ศตวรรษที่ 16 มีพ่อค้าและมิชชันนารีคณะเยสุอิตจากประเทศโปรตุเกสเดินทางถึงญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก และเริ่มการค้าขายและแลกเปลี่ยวัฒนธรรมระหว่างญี่ปุ่นกับโลกตะวันตกการค้านัมบันโดยตรง ทำให้โอดะ โนบูนางะได้เทคโนโลยีและอาวุธปืนยุโรปซึ่งเขาใช้พิชิตไดเมียวคนอื่นหลายคน การรวบอำนาจของเขาเริ่มยุคอาซูจิ–โมโมยามะ (พ.ศ. 2116–2146) หลังโนบูนางะถูกอาเกจิ มิตสึฮิเดะลอบฆ่าใน พ.ศ.2125โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ ผู้สืบทอดของโนบูนางะรวมประเทศใน พ.ศ. 2133 และเปิดฉากบุกครองเกาหลี2ครั้งใน พ.ศ. 2135 และ 2140 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
  • ยุทธการที่เซกิงาฮาระ

    ยุทธการที่เซกิงาฮาระ
    ยุทธการที่เซกิงาฮาระ (ชินจิไต: 関ヶ原の戦い; คีวจิไต: 關ヶ原の戰い, ถอดอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น: Sekigahara no Tatakai) เป็นศึกชี้ขาดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1600 (ปีเคโชที่ 5, วันที่ 15 เดือน 9) ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดกิฟุ ประเทศญี่ปุ่น ใน่ชวงสิ้นสุดของยุคเซ็งโงกุ ยุทธการนี้เป็นการสู้รบระหว่างกองกำลังของโทกูงาวะ อิเอยาซุต่อฝ่ายแนวร่วมที่จงรักภักดีต่อตระกูลโทโยโตมิ ภายใต้การนำของอิชิดะ มิตสึนาริ โดยมีบางคนแปรพักตร์ทั้งก่อนและระหว่างสงคราม ทำให้ฝ่ายโทกูงาวะเป็นฝ่ายชนะ ยุทธการที่เซกิงาฮาระ
  • ("ประเทศปิด")

    นโยบายซาโกกุ ("ประเทศปิด") ใน พ.ศ. 2182 ซึ่งกินเวลานานสองศตวรรษครึ่งและเป็นยุคเอกภาพทางการเมืองที่เรียก ยุคเอโดะ (พ.ศ. 2146–2411) การศึกษาศาสตร์ตะวันตก ที่เรียก รังงากุ ยังคงมีต่อผ่านการติดต่อกับดินแดนแทรกของเนเธอร์แลนด์ที่เดจิมะในนางาซากิ ยุคเอโดะยังทำให้โคกูงากุ ("การศึกษาชาติ") หรือการศึกษาประเทศญี่ปุ่นโดยคนญี่ปุ่น เจริญด้วย
  • ยุคใหม่

    วันที่ 31 มีนาคม 2397 พลเรือจัตวา แมทธิว ซี. เพอร์รี และ "เรือดำ" แห่งกองทัพเรือสหรัฐบังคับให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศต่อโลกภายนอกด้วยสนธิสัญญาคานางาวะ สนธิสัญญาคล้ายกันกับประเทศตะวันตกในยุคบากูมัตสึนำมาซึ่งวิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมือง การลาออกของโชกุนนำสู่สงครามโบชิน และการสถาปนารัฐรวมอำนาจปกครองที่เป็นเอกภาพในนามภายใต้จักรพรรดิ (การฟื้นฟูเมจิ)
  • รัฐธรรมนูญหลังจากการฟื้นฟูเมจิ

    รัฐธรรมนูญนี้ตราขึ้นหลังจากการฟื้นฟูเมจิเมื่อ ค.ศ. 1868 และบัญญัติให้มีรูปแบบการปกครองที่ประสมระหว่างสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยใช้ระบอบของปรัสเซียกับบริติชเป็นต้นแบบด้วยกันhttps://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B4
  • คณะรัฐมนตรีจัดตั้งคณะองคมนตรี

    ประเทศญี่ปุ่นรับสถาบันการเมือง ตุลาการและทหารแบบตะวันตกและอิทธิพลทางวัฒนธรรมตะวันตกรวมเข้ากับวัฒนธรรมดั้งเดิมประเทศสำหรับการกลายเป็นอุตสาหกรรมสมัยใหม่ โดยผ่านกระบวนการกลายเป็นตะวันตกระหว่างการฟื้นฟูเมจิใน พ.ศ. 2411 คณะรัฐมนตรีจัดตั้งคณะองคมนตรี ริเริ่มรัฐธรรมนูญเมจิ และเรียกประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ การฟื้นฟูเมจิ
  • รัฐธรรมนูญเมจิ

    รัฐธรรมนูญเมจิ (明治憲法, Meiji Kenpō) เป็นรัฐธรรมนูญของจักรวรรดิญี่ปุ่น ประกาศใช้เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1889 และใช้บังคับตั้งแต่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1890
  • สงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น

    สงครามรัสเซีย–ญี่ปุ่น (รัสเซีย: Ру́сско-япóнская войнá, อักษรโรมัน: Rússko-yapónskaya voyná; ญี่ปุ่น: 日露戦争, อักษรโรมัน: Nichiro sensō, แปลตรงตัว 'สงครามญี่ปุ่น-รัสเซีย') เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เฉิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง
  • สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง

    สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
    สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (อังกฤษ: First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง (ญี่ปุ่น: 日清戦争; โรมาจิ: นิชชิน เซ็นโซ) หรือ สงครามเจี๋ยอู่ (จีน: 甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์[1] ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี ค.ศ. 1911
  • สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

    สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
    เป็นสงครามโลกที่กินเวลาตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึงวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นความขัดแย้งกันระหว่างสองขั้วมหาอำนาจพันธมิตร ได้แก่ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายมหาอำนาจกลาง โดยการต่อสู้ของทั้งสองฝ่ายดำเนินขึ้นในทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง แอฟริกา แปซิฟิก และพื้นที่บางส่วนของทวีปเอเชีย เป็นหนึ่งในสงครามที่มีความสูญเสียมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ด้วยจำนวนทหารที่เสียชีวิต 9 ล้านนาย และบาดเจ็บ 23 ล้านนาย รวมทั้งพลเรือนที่เสียชีวิตจากสาเหตุอื่นอีก 5 ล้านคน
  • ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลก

    ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หรือ ฝ่ายภาคี (อังกฤษ: Entente Powers / Allies; ฝรั่งเศส: อิตาลีรัสเซียญี่ปุุ่น เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกีย[1] เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง
  • สงครามโลกครั้งที่สอง

    สงครามโลกครั้งที่สอง (อังกฤษ: World War II หรือ Second World War[a]) เป็นสงครามทั่วโลกที่กินเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีด
  • การชำระรัฐธรรมนูญ

    วันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946 มีการชำระรัฐธรรมนูญนี้ทั้งฉบับตามวิธีการปรกติที่กำหนดไว้สำหรับแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ จนทำให้รัฐธรรมนูญนี้กลายเป็นรัฐธรรมนูญฉบับหลังสงคราม ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 เป็นต้นมา
    https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B4