เหตุการณ์ในยุคสมัยใหม่

  • Period: 5785 BCE to 1600 BCE

    ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ

    ยุคแห่งการสำรวจทางทะเลและการค้นพบ (Age of Exploration) เริ่มขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 - 17 เป็นยุคที่ชาวยุโรปมองหาเส้นทางการค้าในดินแดนที่ห่างไกลมากขึ้น ส่งผลให้เกิดเส้นทางการเดินเรือใหม่ระหว่างดินแดนต่าง ๆ รอบโลกที่ไม่เคยได้รับการค้นพบมาก่อน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของโลกไปอย่างถาวร
  • Period: 1950 BCE to

    การปฏิวัติดิจิทัล

    โลกเข้าสู่ยุคดิจิตอลราวทศวรรษ 1950 เรียกชื่อต่างๆ เช่นว่า ยุคข่าวสาร ยุคคอมพิวเตอร์ และได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ก่อผลกระทบต่อกิจกรรมทางสังคมทุกด้าน บางทีเรียกว่า “การปฏิวัติดิจิตอล” เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สาม และการปฏิวัติดิจิตอลนำมาสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 แนวคิดนี้เสนอครั้งแรกในปี 2015 โดยสมัชชาเศรษฐกิจโลก... อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : https://www.matichonweekly.com/column/article_242451
  • 1945 BCE

    สงครามเย็น

    สงครามเย็น
    สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่ กลุ่มประเทศโลกเสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทำสงครามกันโดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของกันและกันสงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ ทั้งประเทศผู้ชนะและแพ้สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกอยู่ในสภาพทรุด โทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอำนาจให้กับสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
  • Period: 1945 BCE to 1988 BCE

    สงครามเย็น

    สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่ กลุ่มประเทศโลกเสรีและกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทำสงครามกันโดยเปิดเผย เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของกันและกันสงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้ำจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ ทั้งประเทศผู้ชนะและแพ้สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกอยู่ในสภาพทรุด โทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอำนาจให้กับสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
  • 1914 BCE

    สงครามโลกครั้งที่ 1

    สงครามโลกครั้งที่ 1
    ชนวนของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดจาด การลอบปลงพระชนม์อาร์คดุยค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ รัชทายาทของบัลลังก์จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืด และการแก้แค้นของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีต่อราชอาณาจักรเซอร์เบียก็ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ก่อให้เกิดสาเหตุหลักของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ลัทธิชาตินิยม 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน
  • Period: 1914 BCE to 1918 BCE

    สงครามโลกครั้งที่ 1

    ชนวนของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดจาด การลอบปลงพระชนม์อาร์คดุยค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ รัชทายาทของบัลลังก์จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืด และการแก้แค้นของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีต่อราชอาณาจักรเซอร์เบียก็ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ก่อให้เกิดสาเหตุหลักของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 1. ลัทธิชาตินิยม 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน
  • 1750 BCE

    การปฏิวัติอุตสาหกรรม

    การปฏิวัติอุตสาหกรรม
    ช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1750 ถึง ค.ศ. 1850 เมื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การทำเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในขณะนั้น การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราชอาณาจักร จากนั้นจึงแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก, อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไปทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมาการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์โลกDescription is too long
  • Period: 1750 BCE to 1850 BCE

    การปฎิวัติอุตสหกรรม

    ช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1750 ถึง ค.ศ. 1850 เมื่อการเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การทำเหมืองแร่, การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบอย่างลึกซึ้งต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในขณะนั้น การปฏิวัติเริ่มต้นในสหราชอาณาจักร จากนั้นจึงแพร่ขยายไปยังยุโรปตะวันตก, อเมริกาเหนือ, ญี่ปุ่น จนขยายไปทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมาการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นจุดเปลี่ยนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์โลกDescription is too long
  • 1453 BCE

    ช่วงเวลาที่เป็นสมัยใหม่

    ช่วงเวลาที่เป็นสมัยใหม่
    กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ
  • Period: 1453 BCE to 1945 BCE

    สมัยใหม่ สากล

    กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ
  • 701 BCE

    สมัยครลาสสิก

    สมัยครลาสสิก
    เป็นคำที่ใช้กว้าง ๆ สำหรับสมัยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณกับโรมันโบราณที่เรียกว่า โลกกรีก-โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและละตินมีความรุ่งเรือง[1] สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์ศตวรรษ
  • Period: 601 BCE to 698 BCE

    สมัยคลาสสิก

    เป็นคำที่ใช้กว้าง ๆ สำหรับสมัยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมที่มีศูนย์กลางอยู่ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณกับโรมันโบราณที่เรียกว่า โลกกรีก-โรมัน สมัยคลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและละตินมีความรุ่งเรือง[1] สมัยคลาสสิกถือกันว่าเริ่มขึ้นเมื่อมีการบันทึกวรรณกรรมกรีกเป็นครั้งแรกที่เริ่มด้วยมหากาพย์ของโฮเมอร์ ราวศตวรรษที่ 8 ถึง 7 ก่อนคริสต์ศตวรรษ
  • 768

    ระบบฟิวดัล

    ระบบฟิวดัล
    เป็นระบบการปกครองในยุโรปสมัยกลางที่กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์และการดำรงชีวิตของคน ในสังคม โดยเฉพาะยุโรปตะวันตกทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
  • 1095

    สงครามครูเสด

    สงครามครูเสด
    ซึ่งเริ่มขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1095 คือผลิตผลจากความพยายามทางการทหารของเหล่าชาวคริสต์ในยุโรปตะวันตกที่ต้องการจะทวงคืนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ในตะวันออกกลางคืนจากชาวมุสลิมและมีอำนาจเหนือดินแดนดังกล่าวนานพอที่จะสถาปนารัฐคริสต์ในตะวันออกใกล้ กลุ่มปัญญาชนเกิดขึ้นจากลัทธิอัสสมาจารย์นิยมและการก่อตั้งมหาวิทยาลัยทั่วยุโรป รวมไปถึงการก่อสร้างโบสถ์วิหารแบบกอทิก เป็นหนึ่งในตัวอย่างความสำเร็จทางด้านศิลปะอันยอดเยี่ยมจากยุคกลางตอนกลาง
  • 1400

    การสำรวจทางทะเล

    การสำรวจทางทะเล
    ยุคแห่งการสำรวจ หรือ ยุคแห่งการค้นพบเป็นช่วงระยะเวลาในประวัติศาสตร์โลกที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในช่วงเวลานั้นเป็นช่วงที่ชาวยุโรปออกเดินทางไปสำรวจทางทะเลในโลกที่กว้างออกไปจากตัวทวีปยุโรปเองโดยมีจุดประสงค์เพื่อหาคู่ค้าขายใหม่ และโดยเฉพาะเพื่อการแสวงหาสินค้าเพื่อสนองความต้องการของตลาดตามต้องการ สินค้าที่เป็นที่ต้องการกันมากในยุโรปในขณะนั้นคือทอง เงิน และ เครื่องเทศ
  • 1401

    สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

    สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
    เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสมัยกลางสู่สมัยใหม่เเละครอบคลุมศตวรรษที่15เเละ16มีการเเสดงลักษณะด้วยความพยามที่จะฟื้นฟูเเละก้าวข้ามเเนวคิดเเละความสำเร็จ
  • 1401

    ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ

    ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ
    ยุคแห่งการสำรวจทางทะเลและการค้นพบ (Age of Exploration) เริ่มขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 - 17 เป็นยุคที่ชาวยุโรปมองหาเส้นทางการค้าในดินแดนที่ห่างไกลมากขึ้น ส่งผลให้เกิดเส้นทางการเดินเรือใหม่ระหว่างดินแดนต่าง ๆ รอบโลกที่ไม่เคยได้รับการค้นพบมาก่อน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของโลกไปอย่างถาวร
  • 1401

    ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ

    ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ
    ยุคแห่งการสำรวจทางทะเลและการค้นพบ (Age of Exploration) เริ่มขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 - 17 เป็นยุคที่ชาวยุโรปมองหาเส้นทางการค้าในดินแดนที่ห่างไกลมากขึ้น ส่งผลให้เกิดเส้นทางการเดินเรือใหม่ระหว่างดินแดนต่าง ๆ รอบโลกที่ไม่เคยได้รับการค้นพบมาก่อน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของโลกไปอย่างถาวร
  • 1401

    แนวคิดจักรวรรดินิยม

    แนวคิดจักรวรรดินิยม
    ลัทธิจักรวรรดินิยม ( Imperialism ) เป็นแนวความคิดของชาติมหาอำนาจในยุโรปที่จะขยายอำนาจและอิทธิพลของตนเข้าครอบครองดินแดนที่ล้าหลังและด้อยความเจริญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงผลประโยชน์ทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจเช่น แหล่งวัตถุดิบและตลาดระบายสินค้าชาวยุโรปเข้ายึดครองดินแดนของชนชาติต่างๆในรูปของ การล่าอาณานิคม
    (Colonization)
    จักรวรรดินิยมยุคแรกเริ่มต้นตั้งแต่การสำรวจทางทะเล เมื่อคริสต์ศตวรรษที่15 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่19มีการค้นพบทวีปอเมริกา และการค้นพบเส้นทางเดินเรือไปทวีปเอเชียเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 สเปน
  • Period: 1401 to

    สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

    เป็นช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ยุโรปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสมัยกลางสู่สมัยใหม่เเละครอบคลุมศตวรรษที่15เเละ16มีการเเสดงลักษณะด้วยความพยามที่จะฟื้นฟูเเละก้าวข้ามเเนวคิดเเละความสำเร็จ
  • 1501

    การปฏิรูปศาสนาคริสต์

    การปฏิรูปศาสนาคริสต์
    เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีการแยกตัวออกจากศาสนจักรโรมันคาทอลิก (Catholic Church) ที่มีศูนย์กลางที่นครวาติกัน (Vatican) ไปตั้งเป็นนิกายใหม่ คือ โปรเตสแตนท์ (Protestantism) เป็นผลมาจากการที่ มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther) โจมตีศาสนจักรโรมันคาทอลิกที่ชักชวนผู้คนให้ซื้อบัตรไถ่บาป
  • การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ

    การจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
    การเสนอทฤษฏีการศึกษาค้นคว้าด้วย “ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ” ทำให้เกิดความตื่นตัวในหมู่ปัญญาชนของยุโรป มีการจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติขึ้นในประเทศต่าง ๆ หลายแห่ง ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อสนับสนุนงานวิจัย การประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ และแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน ทำให้วิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าโดยลำดับ
  • ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย

    หรือสมัยปัจจุบัน คือช่วงเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 1945 จนถึงปัจจุบัน หรือเริ่มต้นจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงเป็นต้นมา เหตุการณ์สำคัญ ๆ ในสมัยปัจจุบันคือ สงครามเย็น (Cold War) โดยที่โลกแบ่งออกเป็น 2 ค่าย ได้แก่ ค่ายเสรีนิยมประชาธิปไตย ซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และค่ายคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีสหภาพโซเวียต และจีน เป็นผู้นำ สงครามเย็นเป็นการแข่งขันของมหาอำนาจ 2 ขั้ว พร้อมด้วยบริวารของทั้ง 2 ฝ่าย เนื่องจากมีความขัดแย้งในเรื่องของอุดมการณ์ทางการเมือง
  • เหตุการณ์ Holodomor จากความอดอยากในยูเครน

    เหตุการณ์ Holodomor จากความอดอยากในยูเครน
    Holodomor เป็นภาษายูเครน แปลว่า การเข่นฆ่าด้วยความอดอยากหิวโหย หรือการปล่อยให้อดอยากหิวโหยจนถึงแก่ความตาย เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นช่วงค.ศ. 1932 ยุคที่ยูเครนยังเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ภายใต้การปกครองของ โจเซฟ สตาลิน ซึ่งมนโยบายด้านเศรษฐกิจรวมศูนย์ ที่ผลผลิตทางการเกษตรต้องถูกยึดเป็นของส่วนรวม ซึ่งเรียกเอาผลผลิตปริมาณสูง ชาวนาถูกบังคับขายผลผลิตในราคาถูก และถูกสั่งห้ามไม่ให้กินผลผลิตของพวกเขาเองอีกด้วย จนกระทั่งเกิดภาวะความอดอยากที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ มีผู้เสียชีวิตกว่า 12 ล้านคน
  • สงครามโลกครั้งที่2

    สงครามโลกครั้งที่2
    เกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1 และมีประเทศเข้าร่วมมากกว่า รวมทั้งเทคโนโลยีทางด้านการทหารก็ก้าวหน้าขึ้น ทำให้เกิดการทำลายล้างมากกว่า โดยมีผลดังนี้ 1. มีผู้คนเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก 2. เกิดการเปลี่ยนแปลงอำนาจของประเทศที่มีบทบาทในการเมืองระหว่างประเทศ3. การเข้ามามีบทบาทในสงครามโลกครั้งที่ 2 และการยึดครองดินแดนในยุโรปตะวันออก 4. ความสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตมนุษย์อย่างมากมาย 5. ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกต่างได้รับเอกราช
  • Period: to

    สงครามโลกครั้งที่2

    เกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างกว่าสงครามโลกครั้งที่1 และมีปรระเทศเข้าร่วมมากกว่า รวมทั้งเทคโนโลยีทางด้านการทหารก็ก้าวหน้าขึ้น ทำให้เกิดทำลายล้างมากกว่าโดยมีผลดังนี้ 1.มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก 2.เดิกการเปลี่ยนแปลงอำนาจของประเทศที่มีบทบาทในการเมืองระหว่างประเทศ 3.การเข้ามาบีบทในสงครามโลกครั้งที่2 และการยึดครองดินแดนยุโรปตะวันออก 4.ความสูญเสียทรัพย์สินและชีวิตมนุษย์อย่างมากมาย 5.ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตกต่างได้รับเอกราช
  • การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน

    การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน
    การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นในหลายช่วงเวลาและสถานที่ทั่วโลก โดยมีความสำคัญที่แตกต่างกันไปการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองในสหรัฐอเมริกา (1950-1960):
    เหตุการณ์สำคัญ: การเดินขบวนในปี 1963 เพื่อเรียกร้องสิทธิพลเมือง โดยมี มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ เป็นผู้นำ
    เป้าหมาย: ต่อต้านการเหยียดเชื้อชาติและเรียกร้องความเท่าเทียมสำหรับคนผิวสีการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองในสหรัฐอเมริกา (1950-1960):การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรี (ปลายศตวรรษที่ 19-ปัจจุบัน):
  • Period: to

    การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน

    การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นในหลายช่วงเวลาและสถานที่ทั่วโลก โดยมีความสำคัญที่แตกต่างกันไปการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองในสหรัฐอเมริกา (1950-1960):
    เหตุการณ์สำคัญ: การเดินขบวนในปี 1963 เพื่อเรียกร้องสิทธิพลเมือง โดยมี มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ เป็นผู้นำ
    เป้าหมาย: ต่อต้านการเหยียดเชื้อชาติและเรียกร้องความเท่าเทียมสำหรับคนผิวสีการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองในสหรัฐอเมริกา (1950-1960):การเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรี (ปลายศตวรรษที่ 19-ปัจจุบัน):
  • ผู้พิชิตอยากาศ

    ผู้พิชิตอยากาศ
    นีล อาร์มสตรอง - วิกิพีเดีย
    มนุษย์คนแรกที่เหยียบพื้นผิวดวงจันทร์คือใคร?
    50 ปีมนุษย์เหยียบบนดวงจันทร์" วิเคราะห์เรื่องจริงหรือแค่ ...
    ใครจะเป็นชาติแรก พามนุษย์ “ก้าวเหยียบดวงจันทร์” ได้อีกครั้ง ...
    ดูทั้งหมด
    เมื่อปี 1969 ยานในภารกิจอะพอลโล 11 นำบัซซ์ อัลดริน และนีล อาร์มสตรอง ลงสู่พื้นผิวดวงจันทร์เป็นครั้งแรกและภารกิจอะพอลโลครั้งหลัง ๆ ที่ติดตามมาก็ได้นำชาวอเมริกันอีก 11 คน ลงไปเดินบนดวงจันทร์ได้สำเร็จด้วยเช่นกัน ภารกิจนี้ดำเนินไปจนถึงเดือนธันวาคม ปี 1972 ซึ่งสหรัฐฯได้ยุติภารกิจดังกล่าวลงในที่สุด
  • การทำลายกำแพงเบอร์ลิน

    การทำลายกำแพงเบอร์ลิน
    การทำลายกำแพงอาจดูเหมือนไม่มีไรน่าจดจำมากนัก แต่เมื่อตระหนักถึงสิ่งอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นพร้อมกับกำแพงนั้นคุณจะเริ่มเห็นมันในแง่มุมใหม่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามยังมีความมั่นคงระหว่างประเทศต่างๆ ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรกันในช่วงสงครามโลกมีการแบ่งพวกอยู่สองฝ่ายและต่างฝ่ายต่างต้องการขยายแนวคิดระบอบการปกครองของตนออกไปให้ได้มากที่สุด เช่น สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรซึ่งถือว่าเป็นประเทศมหาอำนาจหลังจบสงครามโลกครั้งที่สอง(แต่ปัจจุบันสหราชอาณาจักรไม่ใช่มหาอำนาจแล้ว) ต่างต้องการแข่งอำนาจกับสหภาพโซเวียต ประเทศต่าง
  • การรุกรานอิรัก

    การรุกรานอิรัก
    การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 (19 มีนาคม – 1 พฤษภาคม 2546) เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งที่เรียกว่า สงครามอิรัก หรือปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก ซึ่งกำลังผสมอันประกอบด้วยทหารจากสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลียและโปแลนด์บุกครองอิรักและโค่นรัฐบาลซัดดัม ฮุสเซนภายในปฏิบัติการรบหลักนาน 21 วัน ระยะบุกครองประกอบด้วยสงคราม
  • Period: to

    การรุกรานอิรัก

    การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 (19 มีนาคม – 1 พฤษภาคม 2546) เป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งที่เรียกว่า สงครามอิรัก หรือปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก ซึ่งกำลังผสมอันประกอบด้วยทหารจากสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลียและโปแลนด์บุกครองอิรักและโค่นรัฐบาลซัดดัม ฮุสเซนภายในปฏิบัติการรบหลักนาน 21 วัน ระยะบุกครองประกอบด้วยสงคราม
  • แผ่นดินไหวและสึนามิมหาสมุทรอินเดีย

    แผ่นดินไหวและสึนามิมหาสมุทรอินเดีย
    เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มีแมกนิจูดระหว่าง 9.2–9.3 Mw ที่จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวริมชายฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์ใต้ทะเลที่รู้จักกันในวงการวิทยาศาสตร์เป็น แผ่นดินไหวสุมาตรา–อันดามัน[8][9] เกิดจากการแตกร้าวตามรอยเลื่อนระหว่างแผ่นพม่ากับแผ่นอินเดีย และในบางพื้นที่มีมาตราเมร์กัลลีสูงถึงระดับ IXดนีเซียหลังเหตุสึนามิ • เจ้าหน้าที่กู้ภัยชาวเกาหลีกู้ร่างกายใต้ซาก
  • Period: to

    การพิมพ์

    การพิมพ์ (อังกฤษ: printing; ฝรั่งเศส: imprimerie) คือการผลิตสำเนาข้อความและภาพลงบนวัสดุที่ต้องการพิมพ์ เช่น กระดาษ ผ้า ตามความหมายในพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 คือ การทำให้เป็นตัวหนังสือหรือรูปรอยอย่างใด ๆ โดยการกด หรือ การใช้พิมพ์หิน เครื่องกล วิธีเคมี หรือวิธีอื่นใดให้เกิดเป็นสื่อพิมพ์ขึ้นหลายสำเนา[1] จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งปรากฏอยู่บนผนังถ้ำลาสควักซ์ ในฝรั่งเศส และถ้ำอัลตามิรา ในสเปน นอกจากปรากฏผลงานด้านจิตรกรรมที่มีคุณค่าด้านความงามของมนุษยชาติ
  • การแพร่ระบาดของโควิด-19

    การแพร่ระบาดของโควิด-19
    ไวรัสสามารถแพร่ระบาดได้ระหว่างบุคคล จากการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดเป็นหลัก โดยผ่านละอองเสมหะขนาดเล็กที่เกิดจากการไอ จาม หรือพูดคุยกัน แม้ละอองเสมหะเหล่านี้เกิดเมื่อหายใจออก แต่ปกติจะตกลงสู่พื้นหรือติดค้างบนพื้นผิววัตถุต่างๆ ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อในระยะไกล บุคคลอาจติดเชื้อได้จากการสัมผัสพื้นผิวที่ปนเปื้อน
  • จุดเริ่มต้นวิกฤติเศรษฐกิจโลก

    จุดเริ่มต้นวิกฤติเศรษฐกิจโลก
    SCBเข้าสู่ระบบ
    การใช้และการจัดการคุกกี้
    ธนาคารมีการใช้เทคโนโลยี เช่น คุกกี้ (cookies) และเทคโนโลยีที่คล้ายคลึงกันบนเว็บไซต์ของธนาคาร เพื่อสร้างประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ของท่านให้ดียิ่งขึ้น โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่ นโยบายการใช้คุกกี้ของธนาคาร
    ยอมรับ
  • ยุโรปเข้าสู่ยุคการสำรวจเส้นทางเดินเรือ

    gerteryt