Galileo's telescope

การปฏิวัติวิทยาศาสตร์และจุดกำเนิดของโลกและวัคซีนของโลก

  • 4600 BCE

    วิวัฒนาของโลก🌏

    วิวัฒนาของโลก🌏
    อย่างไรก็ตามการอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตเป็นล้านๆ ปีอย่างละเอียดเช่นวิวัฒนาการของโลกไม่ใช่เรื่องง่ายเลย เพื่อที่จะทำความเข้าใจได้ดีขึ้น เราลองมาปรับตัวเลขอายุของโลกกันใหม่ สมมุติให้โลกใบนี้เป็นคนหนึ่งคนเล้วเปรียบเทียบง่ายๆ ว่า โลกของเราที่กำเนิดเกิดขึ้นมาแล้วกว่า 4,600 ล้านปีนั้น ก็คือเท่ากับคนอายุ 46 ปี มาดูกันว่าตลอดระยะเวลาที่โลกได้ถือกำเนิดมา ตั้งแต่วัยเด็กจนวัยกลางคนนี้ มีอะไรเกิดขึ้นกับโลกของเราบ้าง และลองมาคาดเดาดูสิว่าในอนาคตโลกของเราจะเป็นอย่างไร
  • 4600 BCE

    อายุของโลก(0)

    อายุของโลก(0)
    โลกได้ก่อกำเนิดขึ้นจากการรวมตัวของฝุ่นละออง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ อุกกาบาตที่พุ่งเข้าชนในขณะที่โลกมีขนาดประมาณ 80% ของปัจจุบัน ทำให้เศษวัตถุที่หลุดออกมารวมตัวกันเป็นดวงจันทร์
  • Period: 4600 BCE to 4500 BCE

    โลกได้ก่อกำเนิดขึ้นจากการรวมตัวของฝุ่นละออง และโคจรรอบดวงอาทิตย์(4600BC-4500BC)อายุของโลก0

  • 4500 BCE

    อายุของโลก(100)

    อายุของโลก(100)
    วัสดุโลหะหนักรวมตัวกันในศูนย์กลางของโลกเกิดเป็นแกนโลก ต่อมาผิวโลกมีการเย็นตัวและแข็งตัวกลายเป็นเปลือกโลก ข้อมูลในช่วงเวลานี้มีน้อยมาก (ยังไม่พบหินในอายุนี้)
  • Period: 4500 BCE to 4400 BCE

    วัสดุโลหะหนักรวมตัวกันในศูนย์กลางของโลกเกิดเป็นแกนโลก(4500BC-4400BC)อายุของโลก100

  • 4400 BCE

    อายุของโลก(200)

    อายุของโลก(200)
    แร่อายุแก่ที่สุดในโลกคือผลึกแร่ซอร์คอน (zircon) ในประเทศออสเตรเลีย หลักฐานจากแร่นี้บ่งบอกว่ามีมหาสมุทรในช่วงเวลานี้ แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
  • Period: 4400 BCE to 4100 BCE

    แร่อายุแก่ที่สุดในโลกคือผลึกแร่ซอร์คอน (zircon) ในประเทศออสเตรเลีย (4400BC-4100BC)อายุของโลก200

  • 4100 BCE

    อายุของโลก(500)

    อายุของโลก(500)
    สิ้นสุดของช่วงเวลา Hadean (ชื่อที่ใช้เรียกช่วงเวลาที่ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับโลก และไม่มีหลักฐานของหินใดๆ)
  • Period: 4100 BCE to 4000 BCE

    สิ้นสุดของช่วงเวลา Hadean (ชื่อที่ใช้เรียกช่วงเวลาที่ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับโลก และไม่มีหลักฐานของหินใดๆ)(4100BC-4000BC)อายุของโลก500

  • 4000 BCE

    ศึกษาเพิ่มเติม(วิวัฒนาการของโลก)🌏

    ศึกษาเพิ่มเติม(วิวัฒนาการของโลก)🌏
    สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากลิ้งค์หรือสแกนQR ได้เลยค่ะ❤️
    https://www.geothai.net/earth-evolution/
  • 4000 BCE

    อายุของโลก(600)

    อายุของโลก(600)
    หิน Ancaster Gneiss จากกรีนแลนด์คือหินที่มีอายุแก่ที่สุดในโลก (สี่พันล้านปี)
  • Period: 4000 BCE to 3800 BCE

    หิน Ancaster Gneiss จากกรีนแลนด์คือหินที่มีอายุแก่ที่สุดในโลก (สี่พันล้านปี)(4000BC-3800BC)อายุของโลก600

  • 3800 BCE

    อายุของโลก(800)

    อายุของโลก(800)
    หิน Akilia Gneiss (3850 ล้านปี) บ่งบอกหลักฐานคาร์บอนของสิ่งมีชีวิต แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
  • Period: 3800 BCE to 3700 BCE

    หิน Akilia Gneiss (3850 ล้านปี) บ่งบอกหลักฐานคาร์บอนของสิ่งมีชีวิต แต่ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่(3800BC-3700BC)อายุของโลก800

  • 3700 BCE

    อายุของโลก(900)

    อายุของโลก(900)
    หมวดหิน Banded Ironstone Formations (BIFs) สันนิษฐานว่าเกิดจากแบคทีเรีย โดยออกซิเจนที่แบคทีเรียสร้างขึ้นทำปฏิกิริยาออกซิเดชันกับเหล็กไอออนในน้ำทะเลและตกตะกอนเป็นชั้นสีแดงของสนิมเหล็กบนพื้นมหาสมุทร เมื่อไม่มีการสร้างออกซิเจนทำให้เกิดการสะสมตัวของหินเชิร์ตสีเทาแทน ซึ่งชั้นหินทั้งสองนี้ก็คือลักษณะของหมวดหิน BIFs นอกจากนี้แล้วหมวดหินนี้ยังบ่งถึงการสังเคราะห์แสงในยุคแรกเมื่อประมาณ 3700 ล้านปีก่อน แต่ก็ยังไม่พบหลักฐานของซากดึกดำบรรพ์
  • Period: 3700 BCE to 3500 BCE

    หมวดหิน Banded Ironstone Formations (BIFs) สันนิษฐานว่าเกิดจากแบคทีเรีย(3700BC-3500BC)อายุของโลก900

  • 3500 BCE

    อายุของโลก(1100)

    อายุของโลก(1100)
    หินApex Chert (ตะวันตกของออสเตรเลีย) อายุ 3465 ล้านปี ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่ามีซากดึกดำบรรพ์ที่แก่ที่สุดอยู่ภายในหิน แต่ปัจจุบันยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ อย่างไรก็ตามในพื้นที่ Pilbara ทางตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย พบหินที่มีองค์ประกอบเป็นซิลิกามากอายุ 3500 ล้านปี มีร่องรอยของรูขนาดเล็กจำนวนมากยาวประมาณ 40 ไมครอน และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่าเส้นผม แม้ว่าบางรอยอาจเกิดจากกระบวนการอนินทรีย์ แต่ก็มีนักธรณีวิทยาบางคนเชื่อว่าเกิดขึ้นจากแบคทีเรียชนิดกินหิน (rock-eating bacteria)
  • Period: 3500 BCE to 3000 BCE

    หิน Apex Chert (ตะวันตกของออสเตรเลีย) อายุ 3465 ล้านปี (3500BC-3000BC)อายุของโลก1100

  • 3100 BCE

    อายุของโลก(1500)

    อายุของโลก(1500)
    ในบรรยากาศมีออกซิเจนน้อยยูคาริโอต (eukaryote) ซึ่งเป็นเซลล์พื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดบนโลก เช่น โปรโตซัว เห็ดรา พืช และสัตว์ทั้งหลายได้ถือกำเนิดขึ้น (เฉพาะแบคทีเรีย และสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร Monera เท่านั้นที่ประกอบด้วยเซลล์แบบโปรคาริโอต (prokaryote) ยูคาริโอตใช้ออกซิเจนในกระบวนการ metabolism นอกจากนี้พบว่ากระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศยังถูกวิวัฒนาการขึ้น และซากโปรโตซัวที่พบในหินอายุ 1000 ล้านปี นั้นสามารถบ่งบอกถึงการเพิ่มขึ้นของจำนวนและความหลากหลายของยูคาริโอตแรกเริ่มชนิดนี้ได้เป็นอย่างดี
  • Period: 3100 BCE to 3000 BCE

    ในบรรยากาศมีออกซิเจนน้อยยูคาริโอต (eukaryote) ซึ่งเป็นเซลล์พื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดบนโลก(3100BC-3000BC)อายุของโลก1500

  • 3000 BCE

    อายุของโลก(1600)

    อายุของโลก(1600)
    สโตรมาโทไลต์ (stromatolites) เกิดขึ้นจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็ก และสังเคราะห์แสงได้ โดยการดึงแร่แคลไซต์จากน้ำทะเลสร้างขึ้นเป็นโดม ปัจจุบันสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินยังคงมีการสร้างโดมสโตรมาโทไลต์ใน Shark Bay ประเทศออสเตรเลีย
  • Period: 3000 BCE to 2100 BCE

    สโตรมาโทไลต์ (stromatolites) เกิดขึ้นจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็ก(3000BC-2100BC)อายุของโลก1600

  • 2500 BCE

    อายุของโลก(2100)

    อายุของโลก(2100)
    ออกซิเจนซึ่งเป็นผลผลิตของเสียจากแบคทีเรียได้กลายเป็นสารพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ในยุคแรกๆ เริ่มแรกออกซิเจนจะถูกกักเก็บไว้ในหิน เช่น BIFs และหินปูน แต่ต่อมาปริมาณออกซิเจนนั้นมีมากเกินกว่าที่จะกักเก็บไว้ในหินเช่นเดิมจึงได้แพร่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ หินภาคพื้นทวีปสีแดง (Terrestrial Red Beds) จึงได้กำเนิดขึ้นเมื่อ 2100 ล้านปีก่อน โดยกระบวนการออกซิเดชันของเหล็ก ต่อมาออกซิเจนที่หลงเหลืออยู่ก็สะสมตัวอยู่ในชั้นบรรยากาศ
  • Period: 2500 BCE to 2400 BCE

    ออกซิเจนซึ่งเป็นผลผลิตของเสียจากแบคทีเรียได้กลายเป็นสารพิษ(2500BC-2400BC)อายุของโลก2100

  • 2400 BCE

    อายุของโลก(3900)

    อายุของโลก(3900)
    นักพันธุศาสตร์คาดการณ์ว่าสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อ 1000 ล้านปีก่อน แต่ไม่พบหลักฐานในบันทึกทางธรณีวิทยา การศึกษา Choanoflagellate ซึ่งเป็นโปรติสที่มีส่วนประกอบทางพันธุกรรมแบบเดียวกับที่พบในสัตว์ ทำให้สัญนิษฐานได้ว่าสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์น่าจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอยที่เก่าแก่ที่สุดพบในออสเตรเลีย และแอฟริกามีอายุ 700 ล้านปีก่อน
  • Period: 2400 BCE to 2300 BCE

    นักพันธุศาสตร์คาดการณ์ว่าสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อ 1000 ล้านปีก่อน(2400Bc-2300Bc)

  • 2300 BCE

    วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม(วิวัฒนาการของโลก)🌏

    วิดีโอศึกษาเพิ่มเติม(วิวัฒนาการของโลก)🌏
  • Period: 2100 BCE to 1500 BCE

    ออกซิเจนซึ่งเป็นผลผลิตของเสียจากแบคทีเรียได้กลายเป็นสารพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ในยุคแรกๆ (2100BC-1500BC)อายุของโลก2500

  • 1869 BCE

    สาขาเคมี

    สาขาเคมี
    Dmitri Mendeleev สร้างตารางธาตุที่เป็นระบบแรก
  • 1801 BCE

    การปฏิวัติวิทยาศาสตร์

    การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
    เชื่อว่าทุกคน น่าจะได้ยินคำนี้กันเยอะมากแล้ว สำหรับการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ หรือ Scientific Revolution ที่พูดถึงการทลายกำแพงด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ ที่เกิดขึ้นมากองกันอยู่ในช่วง 1500 – 1600 ที่เราจะพูดถึงตั้งแต่ ความพยายามของกาลิเลโอในการใช้กล้องโทรทรรศน์ค้นหาความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ ซึ่งมักจะขัดแย้งกับที่สอนไว้ในคัมภีร์ และการปฎิวัติจบลงด้วยทฤษฎีว่าด้วยการเคลื่อนไหวของวัตถุและแรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุของเซอร์ ไอแซคนิวตัน ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานของวิทยาศาตร์กายภาพ
  • Period: 1801 BCE to

    จุดเริ่มต้นของกราปฏิวัติวิทยาศาสตร์

    จุดเริ่มต้นของการปฎิวัติวิทยาศาสตร์และบุคคลสำคัญ
  • 1797 BCE

    บุคคลสำคัญที่มีผลงานในช่วงนั้น

    บุคคลสำคัญที่มีผลงานในช่วงนั้น
    มีใครบ้างไป?
  • Period: 1704 BCE to

    การตีพิมพ์ "Opticks"

  • Period: 1687 BCE to

    การตีพิมพ์ "Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica"

  • Period: 1661 BCE to

    การตีพิมพ์ "The Sceptical Chymist"

  • Period: 1650 BCE to

    การตีพิมพ์ "Leviathan"

  • 1642 BCE

    กาลิเลโอ กาลิเลอี

    กาลิเลโอ กาลิเลอี
    กาลิเลโอ กาลิเลอี เสียชีวิตหลังจากที่ได้รับการบังคับให้ถอนคำสอนเกี่ยวกับทฤษฎีของโคเปอร์นิกัส จากการคุมขังของศาสนจักร
  • Period: 1642 BCE to

    การเสียชีวิตของกาลิเลโอ กาลิเลอี

  • Period: 1632 BCE to

    การตีพิมพ์ "Dialogue Concerning the Two Chief World Systems"

  • Period: 1628 BCE to

    การตีพิมพ์ "De motu cordis"

  • Period: 1620 BCE to

    การตีพิมพ์ "Novum Organum"

  • Period: 1610 BCE to

    การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์

  • Period: 1551 BCE to 1553 BCE

    การตีพิมพ์ "De humani corporis fabrica"

  • 1542

    ช่องทางการอ่านเพิ่มเติม

    ช่องทางการอ่านเพิ่มเติม
  • 1543

    นิคโคเลอัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus)

    นิคโคเลอัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus)
    ตีพิมพ์ "De Revolutionibus Orbium Coelestium" (1543) ซึ่งเสนอระบบสุริยจักรวาลที่ต่างจากระบบของโตเลมีย์ (Geocentric)
  • 1551

    อังเดรส เวเซลิอุส (Andreas Vesalius)

    อังเดรส เวเซลิอุส (Andreas Vesalius)
    เผยแพร่การศึกษาโครงสร้างร่างกายมนุษย์ซึ่งเป็นการปฏิวัติการศึกษาเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์
  • โจร์ดาโน บรูโน (Giordano Bruno)

    โจร์ดาโน บรูโน (Giordano Bruno)
    ตีพิมพ์แนวคิดเกี่ยวกับจักรวาลที่มีระบบดาวมากมายและทฤษฎีเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของดาว (1600)
  • กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)

    กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)
    ใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตดาวเคราะห์, ยืนยันหลักการของระบบสุริยจักรวาลของโคเปอร์นิคัส (1610-1632)
  • โคเปอร์นิคัส

    โคเปอร์นิคัส
    คริสตอฟอร์ โซอารี และการต่อต้านของคริสตจักรคาทอลิกต่อทฤษฏีของโคเปอร์นิคัส
  • ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon)

    ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon)
    ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) นำเสนอวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เน้นการทดลองและการสังเกต เพื่อลดการพึ่งพาความเชื่อเดิมและสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์สมัยใหม่
  • วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey)

    วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey)
    วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) เผยแพร่ทฤษฎีการหมุนเวียนของเลือดในร่างกาย ซึ่งเป็นการปฏิวัติความเข้าใจทางชีววิทยาและการแพทย์
  • กาลิเลโอ กาลิเลอี

    กาลิเลโอ กาลิเลอี
    กาลิเลโอ กาลิเลอี เผยแพร่หนังสือเปรียบเทียบทฤษฎีของโคเปอร์นิกัสและทฤษฎีของโตลไม (Ptolemaic system) แต่ถูกนำไปสู่การพิจารณาคดีจากศาสนจักร
  • เรอเน่ เดการ์ต (René Descartes)

    เรอเน่ เดการ์ต (René Descartes)
    เรอเน่ เดการ์ต (René Descartes) เผยแพร่หนังสือที่เสนอวิธีการทางตรรกะและฟิสิกส์ใหม่ ๆ และการค้นหาความรู้ผ่านการใช้เหตุผลและการสังเกต
  • โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)

    โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
    โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีการเมืองที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในการคิดเกี่ยวกับสังคมและมนุษย์ในช่วงยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์
  • โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle)

    โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle)
    โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) เผยแพร่หนังสือที่เรียกร้องให้ใช้วิธีการทดลองในการศึกษาสมบัติของสารเคมี ซึ่งเป็นพื้นฐานของเคมีสมัยใหม่
  • ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)

    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)
    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton) เผยแพร่ผลงานที่รวมถึงกฎของการเคลื่อนที่และกฎแรงโน้มถ่วงซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในฟิสิกส์และคณิตศาสตร์
  • บุคคลที่คิดค้นสาขาเรียนวิทยาศาสตร์

    บุคคลที่คิดค้นสาขาเรียนวิทยาศาสตร์
    บุคคลที่คิดค้น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ดาราศาสตร์และเทคโนโลยี จะมีใครกันบ้าง?
  • ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)

    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)
    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton) เผยแพร่หนังสือที่เป็นพื้นฐานของฟิสิกส์คลาสสิก และกฎของการเคลื่อนที่และแรงโน้มถ่วง
  • ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)

    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)
    ตีพิมพ์ "Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica" (1687) ซึ่งแสดงหลักการของแรงดึงดูดและกฎการเคลื่อนที่
  • สาขาฟิสิกส์

    สาขาฟิสิกส์
    ไอแซค นิวตันตีพิมพ์ "Philosopiae Naturalis Principia Mathematica" ซึ้งวางรากฐานของฟิสิกส์คลาสสิก
  • แอนโทนี แวน เลเวนฮุก (Antoine Lavoisier)

    แอนโทนี แวน เลเวนฮุก (Antoine Lavoisier)
    แอนโทนี แวน เลเวนฮุก (Antoine Lavoisier) เริ่มต้นการปฏิวัติทางเคมีด้วยการพัฒนาทฤษฎีการอนุรักษ์มวลและการจำแนกประเภทของธาตุ
  • Period: to 1704 BCE

    การตีพิมพ์ "Elements of Chemistry"

  • ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)

    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton)
    ไอแซค นิวตัน (Isaac Newton) เผยแพร่หนังสือที่เกี่ยวกับทฤษฎีแสงและสี ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษาด้านแสงและการมองเห็น
  • การปฏิวัติวิทยาศาสตร์(เพิ่มเติม)

    การปฏิวัติวิทยาศาสตร์(เพิ่มเติม)
    ศึกษาเพิ่มเกี่ยวกับการปฏิวัติวิทยาศาสตร์
    https://youtu.be/HJZC6sFYJ9M
  • วัคซีนที่ถูกคิดค้นและพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน

    วัคซีนที่ถูกคิดค้นและพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน
    วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสต์ทศวรรษ 1770 โดยเอดเวิร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้
    วัคซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคราะห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย
  • วัคซีนโรคฝีดาษ

    วัคซีนโรคฝีดาษ
    : Edward Jenner เป็นผู้คิดค้นวัคซีนแรกสำหรับโรคฝีดาษ (smallpox) โดยการใช้วัคซีนจากฝีดาษวัว (cowpox) เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ ซึ่งเป็นวิธีการที่เริ่มต้นของการฉีดวัคซีนในยุคปัจจุบัน
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อฝีดาษ

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อฝีดาษ
  • Period: to

    Edward Jenner (1749-1823)

  • สาขาชีววิทยา

    สาขาชีววิทยา
    Charles Darwin เผยแพร่ "On the Origin of Species" ซึ่งแนะนำทฤษฎีวิวัฒนาการโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
  • สาขาชีววิทยา

    สาขาชีววิทยา
    Friedrich Miescher ค้นพบดีเอ็นเอ
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อโรคพิษสุนัขบ้า

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อโรคพิษสุนัขบ้า
  • โรคพิษสุนัขบ้า

    โรคพิษสุนัขบ้า
    ปี 1885: Louis Pasteur พัฒนาวัคซีนสำหรับโรคพิษสุนัขบ้า (rabies) วัคซีนนี้เป็นหนึ่งในวัคซีนที่สำคัญสำหรับโรคที่มีความรุนแรงมากและยังช่วยทำให้การศึกษาเกี่ยวกับวัคซีนและจุลชีพมีความก้าวหน้า
  • Period: to

    Louis Pasteur (1822-1895)

  • สาขาฟิสิกส์

    สาขาฟิสิกส์
    Albert Einstein เผยแพร่ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ
  • สาขาโลกศาสตร์

    สาขาโลกศาสตร์
    : Alfred Wegener เสนอทฤษฎีการเคลื่อนที่ของทวีป (Continental Drift)
  • สาขาเคมี

    สาขาเคมี
    Niels Bohr พัฒนาโมเดลอะตอมที่สอดคล้องกับข้อมูลจากการทดลอง
  • สาขาฟิกสิกส์

    สาขาฟิกสิกส์
    Albert Einstein นำเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
  • สาขาฟิกสิกส์

    สาขาฟิกสิกส์
    การค้นพบของ Niels Bohr เกี่ยวกับโมเดลอะตอม
  • วัคซีนวัณโรค (tuberculosis)

    วัคซีนวัณโรค (tuberculosis)
    ปี 1921: Albert Calmette และ Camille Guérin พัฒนาวัคซีน BCG (Bacillus Calmette-Guérin) สำหรับป้องกันวัณโรค (tuberculosis) ซึ่งเป็นวัคซีนที่ใช้ในหลายประเทศเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคนี้
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนวัณโรค

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนวัณโรค
  • Period: to

    Albert Calmette (1863-1933) และ Camille Guérin (1872-1961)

  • สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์

    สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์
    Alan Turing เสนอแนวคิดของเครื่องทัวริงซึ่งเป็นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่
  • สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์

    สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์
    การสร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรก ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Computer)
  • วัคซีนสำหรับหัด (measles), คางทูม (mumps), ไข้หวัดใหญ่ (influenza), และโรคไวรัสตับอักเสบ B (hepatitis B)

    วัคซีนสำหรับหัด (measles), คางทูม (mumps), ไข้หวัดใหญ่ (influenza), และโรคไวรัสตับอักเสบ B (hepatitis B)
    ช่วงปี 1950s-1980s: Maurice Hilleman เป็นผู้พัฒนาวัคซีนที่สำคัญหลายชนิด รวมถึงวัคซีนสำหรับหัด (measles), คางทูม (mumps), ไข้หวัดใหญ่ (influenza), และโรคไวรัสตับอักเสบ B (hepatitis B) นอกจากนี้ยังมีผลงานในวัคซีนอื่น ๆ ที่ช่วยลดการระบาดของโรคในทั่วโลก
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนสำหรับหัด (measles), คางทูม (mumps), ไข้หวัดใหญ่ (influenza), และโรคไวรัสตับอักเสบ B (hepatitis B)

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนสำหรับหัด (measles), คางทูม (mumps), ไข้หวัดใหญ่ (influenza), และโรคไวรัสตับอักเสบ B (hepatitis B)
  • Period: to

    . Maurice Hilleman (1919-2005)

  • สาขาชีววิทยา

    สาขาชีววิทยา
    James Watson และ Francis Crick เสนอโมเดลโครงสร้างดีเอ็นเอเป็นดับเบิลเฮลิกซ์
  • สาขาเคมี

    สาขาเคมี
    Rosalind Franklin และ Maurice Wilkins ถ่ายภาพโครงสร้างดีเอ็นเอด้วยวิธี X-ray diffraction
  • โรคโปลิโอ

    โรคโปลิโอ
    ปี 1955: Jonas Salk พัฒนาวัคซีนสำหรับโรคโปลิโอ (polio) ซึ่งเป็นวัคซีนที่ช่วยลดการระบาดของโรคนี้อย่างมาก วัคซีนของ Salk ใช้ไวรัสที่ตายแล้ว (inactivated virus) เพื่อกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนโรคโปลิโอ (polio)

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อวัคซีนโรคโปลิโอ (polio)
  • Period: to

    Jonas Salk (1914-1995)

  • สาขาอวกาศ

    สาขาอวกาศ
    การปล่อยดาวเทียม Sputnik 1 โดย Soviet Union
  • สาขาโลกศาสตร์

    สาขาโลกศาสตร์
    การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับแผ่นเปลือกโลก (Plate Tectonics) โดย Harry Hess และ Robert Dietz
  • สาขาฟิกสิกส์

    สาขาฟิกสิกส์
    การค้นพบรังสีไมโครเวฟพื้นหลังจักรวาลโดย Arno Penzias และ Robert Wilson
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อฟิสิกส์

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อฟิสิกส์
  • สาขาอวกาศ

    สาขาอวกาศ
    Neil Armstrong และ Buzz Aldrin ลงเหยียบดวงจันทร์ในการเดินทาง Apollo 11
  • สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์

    สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์
    การพัฒนาภาษาโปรแกรมระดับสูงเช่น C และ Pascal
  • สาขาโลกศาสตร์

    สาขาโลกศาสตร์
    การค้นพบหลักฐานการชนกันของอุกกาบาตที่เชื่อมโยงกับการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์โดย Luis Alvarez และ Walter Alvarez
  • สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์

    สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์
    การเปิดตัวเว็บเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW) โดย Tim Berners-Lee
  • สาขาอวกาศ

    สาขาอวกาศ
    การปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope)
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อสาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อสาขาคอมพิวเตอร์วิทยาศาสตร์
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อเคมี

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อเคมี
  • สาขาเคมี

    สาขาเคมี
    การค้นพบโครงสร้างของ Fullerenes (C60) โดย Harry Kroto, Robert Curl, และ Richard Smalley
  • สาขาชีววิทยา

    สาขาชีววิทยา
    การประกาศการถอดรหัสจีโนมมนุษย์ (Human Genome Project) เสร็จสิ้น
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อชีววิทยา

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อชีววิทยา
  • สาขาอวกาศ

    สาขาอวกาศ
    NASA ประกาศการค้นพบดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายโลกในระบบดาว Trappist-1
  • ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อ COVID-19

    ศึกษาเพิ่มเติมหัวข้อ COVID-19
  • Period: to

    Katalin Karikó (1955-) และ Drew Weissman (1959-)

  • วัคซีน COVID-19

    วัคซีน COVID-19
    ปี 2020: Katalin Karikó และ Drew Weissman พัฒนาพื้นฐานของเทคโนโลยี mRNA ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในวัคซีน COVID-19 ของ Pfizer-BioNTech และ Moderna เทคโนโลยี mRNA เป็นการเปลี่ยนแปลงสำคัญในการพัฒนาวัคซีน
  • ความรู้เรื่องวัคซีนและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

    ความรู้เรื่องวัคซีนและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค